อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
รอยพระบาทหลังเต่า อยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี เป็นรอยพระพุทธบาทที่ประดิษฐานอยู่บนลานหินบริเวณสันเขาทางทิศใต้ของภูพระบาท ที่มาของชื่อพระพุทธบาทหลังเต่า มาจากก้อนหินขนาดใหญ่ก้อนหนึ่งที่อยู่บริเวณใกล้เคียง มีลักษณะด้านบนโค้งและมีลวดลายคล้ายหลังเต่า ชาวบ้านจึงเรียกพระพุทธบาทที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกันว่า “พระพุทธบาทหลังเต่า”
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี พบภาพเขียนสีก่อประวัติศาสตร์ปรากฏอยู่บนเพดานของเพิงหิน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 จุด ที่โดดเด่นจนเป็นที่มาของชื่อถ้ำหรือเพิงหินคือภาพในจุดที่ 3 ที่มีลวดลายเป็นเส้นตรงหักมุมหลายครั้ง คล้ายกับหัวกวางมีเขา
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี มีลวดลายของภาพเขียนสีที่ปรากฏอยู่บนเพดานและผนังของเพิงหิน ที่โดดเด่นคือลายหยักฟันเลื่อย อายุราว 3,000-2,500 ปีมาแล้ว
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
ตั้งอยู่ภายในอุทยานแห่งชาติเจ้าไหม ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จ.ตรัง พบหลักฐานทางโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์บนเขาเจ้าไหม ได้แก่ ภาพเขียนสี เครื่องมื่อหินและเครื่องปั้นดินเผา สันนิษฐานว่ามีอายุอยู่ในช่วง 4,000-2,000 ปีมาแล้ว
ต.ไม้ฝาด อ.สิเกา จ.ตรัง แหล่งโบราณคดีอ่าวบุญคงพบหลักฐานทางโบราณคดี 2 ยุคสมัย คือ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่ถูกใช้เป็นที่พักพิงชั่วคราวและมีการวาดภาพเขียนสี และยุคประวัติศาสตร์ช่วงพุทธศตวรรษที 16 – 19 ถูกใช้เป็นแหล่งฝังศพ