แหล่งโบราณคดี


แสดง 41 ถึง 60 จาก 90 ผลลัพธ์

วัดอุดม

ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ตามตำนานพื้นเมืองเชียงแสนระบุว่าวัดอุดมสร้างโดยหมื่นอุดม ขุนนางผู้กินเมืองเชียงแสนใน พ.ศ.2029 กรมศิลปากรได้ขุดแต่งวัดอุดมเมื่อ พ.ศ.2549 พบอาคารที่สันนิษฐานว่าเป็นวิหารและมณฑป

อ่านเพิ่มเติม

วัดร้างหมายเลข 6

ถ.พหลโยธิน ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

วัดมหาโพธิ์

ถ.ริมโขง ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

วัดมุงเมือง

ถ.พหลโยธิน ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย     

อ่านเพิ่มเติม

วัดร้างหมายเลข 21 (นอกเมือง)

ม.7 บ้านเชียงแสนน้อย ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

วัดสบเกี๋ยง

ต.เวียง อ.เขียงแสน จ.เชียงราย วัดสบเกี๋ยงตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองเชียงแสนด้านทิศเหนือ วัดนี้ไม่ปรากฏประวัติการก่อสร้าง แต่คงเป็นวัดที่สำคัญแห่งหนึ่งของเมืองเชียงแสน เพราะใน พ.ศ.2292 ได้มีการราชาภิเษกเจ้าอาวาสวัดสบเกี๋ยงให้เป็นสังฆราชาของเมืองเชียงแสน

อ่านเพิ่มเติม

วัดอโศก

ถ.ทัพม่าน ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

วัดอาทิต้นแก้ว

ถ.สาย 2 ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้1

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้2

ตั้งอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายของภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ 2 จุด เขียนเป็นภาพลายเส้นด้วยสีแดง มีลวดลายเป็นเส้นคู่ขนานคล้ายตัววาย (Y) กากบาท ภาพเส้นคดขนานกันหลายเส้น ลายรูปวงกลมที่มีเส้นคู่ขนานยื่นออกไป 6 ทิศทาง คล้ายกับพระอาทิตย์ นอกจากนี้ยังมีเส้นคู่ขนานที่เป็นตัวเชื่อมต่อกับภาพต่างๆ อีกด้วย 

อ่านเพิ่มเติม

ซำเม็ก, ถ้ำนายบาง

ตังอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ เขียนด้วยสีแดงเป็นลายคดคล้ายงูภาพเดียว เป็นการเขียนแบบหยาบๆ ทำนองไม่ตั้งใจเขียน คล้ายทดลองแปร

อ่านเพิ่มเติม

ลานสาวเอ้

กองหินที่ลานสาวเอ้ อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายภาพเขียนสีแดงยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นเส้นแนวตั้งเรียงกันเป็นแถวจำนวน 22 เส้น และมีเส้นแนวนอนเชื่อมด้านล่างหลายช่วง นอกจากนี้ยังพบเศษภาชนะดินเผาเนื้อแกร่ง สีเทาเข้มและดำ ตกแต่งด้วลายขูดขีดเป็นเส้นคู่ขนานรอบคอภาชนะ 

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินหินร่อง1

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินหินร่อง2

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินหินร่อง3

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด่านใหญ่1

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด่านใหญ่2

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด่านใหญ่3

ตังอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์บนเพดานของเพิงหิน เป็นภาพเขียนสีกลุ่มหนึ่งที่เขียนเป็นลายเส้นรูปทรงไม่แน่นอน หยักไปมา ลายเส้นโค้ง ลายเส้นคู่ขนาน ลายรูปปสี่เหลี่ยมขนานกัน ลายเส้นรูปสามเหลี่ยม และลายเส้นรูปสี่เหลี่ยมมุมม มาประกอบเป็นรูปเดียวกัน จนหาจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดไม่ได้ 

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด่านใหญ่4

ตั้งอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี เพิงหินด่านใหญ่ มีปรากฏลวดลายภาพเขียนสีบนเพดานของเพิงหิน มีภาพ 2 กลุ่ม เขียนด้วยสีแดง  ล้วนแล้วแต่เป็นภาพสัญลักษณ์  เช่น เส้นหยักคู่ขนาน เส้นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน เส้นหยักฟันปลา เส้นรูปตัวยู (U) เส้นโค้ง เส้นตรงคู่ขนาน เส้นรูปตัววี (V) 

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด่านใหญ่5

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม