อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี พบภาพเขียนสีก่อประวัติศาสตร์ปรากฏอยู่บนเพดานของเพิงหิน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 จุด ที่โดดเด่นจนเป็นที่มาของชื่อถ้ำหรือเพิงหินคือภาพในจุดที่ 3 ที่มีลวดลายเป็นเส้นตรงหักมุมหลายครั้ง คล้ายกับหัวกวางมีเขา
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี มีลวดลายของภาพเขียนสีที่ปรากฏอยู่บนเพดานและผนังของเพิงหิน ที่โดดเด่นคือลายหยักฟันเลื่อย อายุราว 3,000-2,500 ปีมาแล้ว
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
ม.2 บ้านโพนพระ ต.โคกคอน อ.โคกคอน จ.หนองคาย จากหลักฐาน เช่น โครงกระดูกมนุษย์ และภาชนะดินเผา แสดงให้เห็นว่าพื้นที่บ้านโพนพระอาจเป็นพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ฝังศพของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย หรือสมัยเหล็ก โดยมีการฝังเครื่องเซ่นไปพร้อมกับร่างของผู้ตายด้วย
บ้านเขากลาง ม.13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ คือ ภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ และภาพเขียนสีสมัยอยุธยาที่เขียนเป็นภาพเรื่องพุทธประวัติและเรื่องราวในพุทธศาสนาและภาพประกอบพิธีกีรรม แบ่งออกได้เป็น 10 กลุ่ม
ตั้งอยู่ภายในอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม ต.ไม้ฝาด อ.สิเกา จ.ตรัง ปรากฏภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์อยู่ที่หน้าผาด้านทิศเหนือของเขาแบนะ หันหน้าออกสู่ทะเล เป็นภาพเขียนสีแดงหลายภาพ ที่เห็นเด่นชัดเป็นภาพปลา 2 ตัว ส่วนภาพอื่น ๆ ส่วนใหญ่มีสภาพลบเลือน
ตั้งอยู่ด้านหลังหมวดการทางปะทิว ริม ถ.เพชรเกษม ต.เขาไชยราช อ.ปะทิว จ.ชุมพร จากการสำรวจของกรมศิลปากร พบหลักฐานทางโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ คือเศษภาชนะดินเผาเนื้อดิน เ สันนิษฐานว่าถ้ำแห่งนี้เป็นที่อยู่อาศัยชั่วคราวของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์