แหล่งโบราณคดี


แสดง 41 ถึง 60 จาก 106 ผลลัพธ์

เพิงหินด้านทิศเหนือของคอกม้าท้าวบารส

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด้านทิศตะวันออกของวัดพ่อตา

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด้านตะวันออกวัดลูกเขย

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินข้างบ่อน้ำนางอุสา

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำคน

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำวัว

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคอกม้าน้อย

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของคอกม้าน้อย

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

พระธาตุดอยภูข้าว (ปูเข้า)

ม.1 บ้านสบรวก ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระธาตุผาเงา

บ้านสบคำ ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย  แต่เดิมวัดพระธาตุผาเงาเคยเป็นวัดร้าง จนราวปี พ.ศ.2519 วัดสบคำ ริมน้ำโขง ถูกน้ำกัดเซาะ พังทลายลงทุกปี คณะศรัทธาจึงได้ย้ายวัดขึ้นมาสร้างบนเนินดอยคำ (ดอยจัน) บริเวณวัดร้างซึ่งไม่ไกลจากวัดสบคำมากนัก สถานที่ก่อสร้างวัดใหม่หรือบริเวณวัดร้างมีถ้ำที่เรียกว่า ถ้ำผาเงา และมีก้อนหินขนาดใหญ่รูปทรงคล้ายองค์เจดีย์

อ่านเพิ่มเติม

ถนนขึ้นดอยสุเทพ

ถ.ทางขึ้นดอยสุเทพ (ถนนศรีวิชัย) (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1004) (ต่อเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ – ดอยสุเทพ) ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

พระธาตุดอยสุเทพ

เลขที่ 124 บ้านดอยสุเทพ ม.9 ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์ภูธาตุ

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองยาว ซ.วัดหนองยาวใต้ ถ.พหลโยธิน ต.หนองยาว อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี

อ่านเพิ่มเติม

ผาเสด็จพัก

ม.5 บ้านเขาเกตุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี ผาเสด็จพักเป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดสระบุรี มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับสถาบันพระมหากษัตริย์และประวัติการคมนาคมไทย โดยเฉพาะกิจการการรถไฟ เป็นเส้นทางผ่านของทางรถไฟสายแรกของไทยที่มุ่งสู่อีสาน คือทางรถไฟสายพระมหานคร-นครราชสีมา ก่อสร้างโดยพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

อ่านเพิ่มเติม

แหล่งตัดหินวัดป่าเขาหินตัด

ต.ป่าเขาหินตัด อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา เป็นแหล่งวัตถุดิบหินทรายของคนโบราณในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 15-18 สำหรับใช้ในการก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ โดยเฉพาะปราสาทในวัฒนธรรมเขมรในเขตอำเภอสีคิ้วและอำเภอสูงเนินในปัจจุบัน

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้1

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้2

ตั้งอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายของภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ 2 จุด เขียนเป็นภาพลายเส้นด้วยสีแดง มีลวดลายเป็นเส้นคู่ขนานคล้ายตัววาย (Y) กากบาท ภาพเส้นคดขนานกันหลายเส้น ลายรูปวงกลมที่มีเส้นคู่ขนานยื่นออกไป 6 ทิศทาง คล้ายกับพระอาทิตย์ นอกจากนี้ยังมีเส้นคู่ขนานที่เป็นตัวเชื่อมต่อกับภาพต่างๆ อีกด้วย 

อ่านเพิ่มเติม

ซำเม็ก, ถ้ำนายบาง

ตังอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ เขียนด้วยสีแดงเป็นลายคดคล้ายงูภาพเดียว เป็นการเขียนแบบหยาบๆ ทำนองไม่ตั้งใจเขียน คล้ายทดลองแปร

อ่านเพิ่มเติม

ลานสาวเอ้

กองหินที่ลานสาวเอ้ อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายภาพเขียนสีแดงยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นเส้นแนวตั้งเรียงกันเป็นแถวจำนวน 22 เส้น และมีเส้นแนวนอนเชื่อมด้านล่างหลายช่วง นอกจากนี้ยังพบเศษภาชนะดินเผาเนื้อแกร่ง สีเทาเข้มและดำ ตกแต่งด้วลายขูดขีดเป็นเส้นคู่ขนานรอบคอภาชนะ 

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินหินร่อง1

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม