แหล่งโบราณคดี


แสดง 1 ถึง 20 จาก 42 ผลลัพธ์

โคกพลับ

ตั้งอยู่  ต.โพหัก อ.บางแพ จ.ราชบุรี  ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย อายุราว 3,000-2,000 ปีมาแล้ว โดยเฉพาะกิจกรรมของมนุษย์ในอดีตเพื่อการอยู่อาศัยและการฝังศพ

อ่านเพิ่มเติม

บ้านท้ายไร่

บ้านท้ายไร่ ต.วังกระแจะ อ.เมืองตราด เป็นแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ อายุประมาณ 3,000-2,500 ปีมาแล้ว โบราณวัตถุชิ้นสำคัญ ได้แก่ กลองมโหระทึกแบบเฮกเกอร์1 กำไลสำริด ลูกปัดหินคาร์เนเลียน ชิ้นส่วนกระดูกมนุษย์ เครื่องมือเหล็กประเภทขวานมีบ้อง ง้าวมีบ้อง และเสียมมีบ้อง

อ่านเพิ่มเติม

ภูซาง

ต.นาซาว อ.เมืองน่าน จ.น่าน แหล่งโบราณคดีภูซาง หรือดอยภูซาง ในอดีต (ประมาณ 700 ถึงกว่า 3,000 ปีมาแล้ว) น่าจะเป็นแหล่งผลิตเครื่องมือหินในระดับอุตสาหกรรรม เพราะพบหลักฐานที่แสดงถึงกระบวนการผลิตเครื่องมือหินเป็นจำนวนมากและกระจายตัวอยู่หนาแน่นเป็นบริเวณกว้าง

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำผี

ต.นาปู่ป้อม อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน อยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ราว 11,000 ปีมาแล้ว เป็นต้นมา พบหลักฐานทางโบราณคดีทั้งเครือมือหินแบบ Hoabinhian เครื่องมือสะเก็ดหิน เครื่องมือหินขัด เศษภาชนะดินเผา ซากพืช ซากสัตว์ โลงไม้ ซึ่ง Chester Gorman เคยระบุว่าเป็นแหล่งที่พบภาชนะดินเผาและร่องรอยการเพาะปลูกที่เก่าที่สุดในประเทศไทย

อ่านเพิ่มเติม

ภูโล้น

ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของวัดถ้ำเขาคีรีบรรพต บ้านภูเขาทอง ต.บ้านม่วง อ.สังคม จ.หนองคาย บริเวณริมแม่น้ำโขง เป็นเหมืองแร่ทองแดงที่อาจจะเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย พบร่องรอยกิจกรรมการทำเหมืองแร่หลายจุดด้วยกัน ทั้งซากเหมืองใต้ดิน ปล่อง อุโมงค์ ลานบดแร่

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำมึ้ม

วัดพระพุทธบาทภูเก้า ม.10 บ้านดงบาก ต.นิคมพัฒนา อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู

อ่านเพิ่มเติม

ชุมชนโบราณดงเมืองเตย

บ้านสงเปือย ต.สงเปือย อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร ชุมชนโบราณดงเมืองเตยปรากฏการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่เมื่อประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว ต่อเนื่องมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 18 มีคูน้ำคันดินล้อมรอบเมืองโบราณ

อ่านเพิ่มเติม

วัดโพธิ์ศรีใน

ภายในวัดโพธิ์ศรีใน ถ.โพธิ์ศรี ม.11 บ้านเชียง ต.บ้านเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี เป็นพื้นที่ที่พบร่องรอยวัฒนธรรมบ้านเชียงยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะหลุมฝังศพของคนในวัฒนธรรมบ้านเชียง ซึ่งพบหลักฐานหลุมฝังศพ 52 หลุม พร้อมทั้งข้าวของเครื่องใช้ที่เป็นวัตถุอุทิศให้กับผู้ตายมากมาย ปัจจุบันมีการจัดแสดงหลุมขุดค้นเป็นพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน

อ่านเพิ่มเติม

บ้านเมืองบัว

ม.6 บ้านเมืองบัว ต.เมืองบัว อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด

อ่านเพิ่มเติม

คอกม้าท้าวบารส

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ

อ่านเพิ่มเติม

คอกม้าน้อย

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำฤๅษี

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

บ่อน้ำนางอุสา

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด้านทิศเหนือของคอกม้าท้าวบารส

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด้านตะวันออกวัดลูกเขย

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินข้างบ่อน้ำนางอุสา

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของคอกม้าน้อย

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

บ้านโป่งตะขบ

โรงเรียนบ้านโป่งตะขบ ม.6 บ้านโป่งตะขบ ต.วังม่วง อ.วังม่วง จ.สระบุรี

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้1

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้2

ตั้งอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายของภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ 2 จุด เขียนเป็นภาพลายเส้นด้วยสีแดง มีลวดลายเป็นเส้นคู่ขนานคล้ายตัววาย (Y) กากบาท ภาพเส้นคดขนานกันหลายเส้น ลายรูปวงกลมที่มีเส้นคู่ขนานยื่นออกไป 6 ทิศทาง คล้ายกับพระอาทิตย์ นอกจากนี้ยังมีเส้นคู่ขนานที่เป็นตัวเชื่อมต่อกับภาพต่างๆ อีกด้วย 

อ่านเพิ่มเติม