แหล่งโบราณคดี


แสดง 321 ถึง 340 จาก 420 ผลลัพธ์

พระเจดีย์ วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระมหาเจดีย์เป็นสถาปัตยกรรมหลักของวัดราชบพิธ อยู่ตำแหน่งกึ่งกลางของอาคารบนฐานไพที ภายในวงล้อมของพระระเบียงกลมและพระวิหารทั้ง 4 ทิศ สร้างขึ้นเพื่อเป็นหลักสำคัญในการเคารพบูชา ทั้งองค์เจดีย์และฐานคูหาประดับกระเบื้องเคลือบลายเบญจรงค์ทั้งองค์

อ่านเพิ่มเติม

พระระเบียง วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระระเบียงหรือระเบียงคดตั้งอยู่บนฐานไพทีของอาคารหลักในส่วนเขตพุทธาวาสของวัดราชบพิธ ผนังภายนอกของพระระเบียงบุกระเบื้องเบญจรงค์ ลายกรวยเชิงที่โคนผนัง ลายทั่วไปเป็นพุ่มข้าวบิณฑ์ เทพนมก้านแย่งพื้นเหลือง เป็นลายเดียวกับผนังพระอุโบสถ

อ่านเพิ่มเติม

ป้อมยันทัพพม่า

ถ.เพชขรเกษม บ้านจวนบน ต.กุยบุรี อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

ศาลาราย วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นศาลาขนาดเล็กตั้งอยู่ด้านหน้าอาคารแต่ละหลังบนฐานไพทีในเขตพุทธาวาสของวัดราชบพิธฯ ตั้งอยู่ทั้ง 4 ทิศ ทิศละ 2 คู่ รวม 8 หลัง เป็นอาคารแบบไทยประเพณี เป็นอาคารโถงโล่งมีปีกนกรอบ

อ่านเพิ่มเติม

อู่ตะเภา

ม.3 บ้านท่าฝาง ต.บ่อนอก อ.เมืองประจวบคีรีขันธ์ จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

พระวิหารทิศ วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระวิหารทิศมี 2 หลัง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของพระเจดีย์ พระวิหารทิศนี้นับเป็นทางเข้าขนาดใหญ่เพื่อเข้าสู่บริเวณภายในพระระเบียงรอบพระเจดีย์วัดราชบพิธฯ

อ่านเพิ่มเติม

พระวิหาร วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระวิหารวัดราชบพิธฯ มีรูปทรงเป็นแบบเดียวกับพระอุโบสถทั้งภายนอกและภายใน ต่างแต่ว่าบานประตูและบานหน้าต่างสลักด้วยไม้เป็นลวดลายเครื่องราชอิสริยาภรณ์เท่านั้น ภายในพระวิหารประดิษฐานพระประทีปวโรทัย

อ่านเพิ่มเติม

พระอุโบสถ วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ เป็นพระอุโบสถที่มีความงดงามมากแห่งหนึ่งของไทย รูปทรงภายนอกเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทย ผนังบุกระเบื้องเบญจรงค์ บานประตูหน้าต่างประดับมุกเป็นรูปเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ภายในพระอุโบสถเป็นแบบยุโรปผสมแบบไทย เป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิและพระบรมราชสรีรางคารพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรีถึง 6 พระองค์

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์ (ร้าง) ข้างตลาด

ข้างตลาดสดเทศบาลตำบลเวียงคุก ถ.แก้ววรวุฒิ ม.4 บ้านเวียงคุกเหนือ ต.เวียงคุก อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

บ้านโพนพระ

ม.2 บ้านโพนพระ ต.โคกคอน อ.โคกคอน จ.หนองคาย จากหลักฐาน เช่น โครงกระดูกมนุษย์ และภาชนะดินเผา แสดงให้เห็นว่าพื้นที่บ้านโพนพระอาจเป็นพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ฝังศพของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย หรือสมัยเหล็ก โดยมีการฝังเครื่องเซ่นไปพร้อมกับร่างของผู้ตายด้วย

อ่านเพิ่มเติม

วัดโพธิ์ชัย

ถ.หนองคาย-โนพิสัย (ทางหลวงหมายเลข 212) ต.ในเมือง (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดศรีมงคลธรรมาราม

ม.4 บ้านเวียงคุก ต.เวียงคุก (เทศบาลตำบลเวียงคุก) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดท่าคกเรือ

ถ.แก้ววรวุฒิ ต.ท่าบ่อ (เทศบาลเมืองท่าบ่อ) อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดดงนาคำ

ม.7 บ้านศรีวิไล ต.โพธิ์ตาก อ.โพธิ์ตาก จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดจอมมณี

ถ.แก้ววรวุฒิ ม.1 บ้านจอมมณี ต.มีชัย (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระไชยเชษฐาธิราช

ม.5 บ้านกวนวันใหญ่ ต.กวนวัน (เทศบาลตำบลกวนวัน) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ภายในวัดมีซากโบราณสถานก่ออิฐรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1 หลัง หันหน้าไปทางทิศตะวันออก และศิลาจารึก 1 หลัก เก็บไว้ภายในวิหาร จารึกดังกล่าวเรียกกันโดยทั่วไปว่า "จารึกวัดไชยเชษฐา"

อ่านเพิ่มเติม

วัดกุกุรัตนาราม

วัดกุกุรัตนาราม หรือวัดไก่แก้ว ตั้งอยู่ในเทศบาลตำบลปะโค อ.เมืองหนองคาย ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.2466 ภายในวัดปรากฏซากโบราณสถานที่สันนิษฐานว่าเป็นศาสนสถานของเมืองโบราณเวียงงัว บริเวณหน้าอุโบสถของวัด เป็นเจดีย์ขนาดเล็ก 1 องค์ ชาวบ้านเรียกว่า “ธาตุไก่แก้ว”

อ่านเพิ่มเติม

วัดศรีเมือง

ถ.มีชัย ต.ในเมือง (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ตามประวัติวัดกล่าวว่า สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2100 หรือ 2120 โดยพระไชยเชษฐาแห่งอาณาจักรล้านช้าง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญภายในวัดศรีเมือง ได้แก่ พระไชยเชษฐา เจดีย์ทรงปราสาทหรือกู่ พระพุทธรูปสัทธาธิกหรือหลวงพ่อศรีเมือง และศิลาจารึกสมัยล้านช้าง

อ่านเพิ่มเติม

วัดสาวสุวรรณ

ตั้งอยู่ในเทศบาลตำบลเวียงคุก อ.เมืองหนองคาย หรือในพื้นที่เวียงคุก เมืองโบราณที่พบหลักฐานการอยู่อาศัยมาตั้งแต่ช่วงต้นยุคประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยทวารวดี เรื่อยมาถึงสมัยเขมรและล้านช้าง วัดแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช แห่งล้านช้าง ราว พ.ศ.2200 โดยทรงอนุญาตให้ใช้พระนามพระราชธิดาทั้ง 2 องค์เป็นชื่อวัด คือ วัดกุศลนารี (พระธิดาองค์ใหญ่) และวัดสาวสุวรรณาราม (พระธิดาองค์เล็ก) เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระราชธิดาทั้งสองได้ทรงอุปถัมภ์มาโดยตลอด

อ่านเพิ่มเติม

วัดเทพพลประดิษฐาราม

เลขที่ 4 ถ.แก้ววรวุฒิ ม.2 บ้านเวียงคุก ต.เวียงคุก (เทศบาลตำบลเวียงคุก) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ประวัติดั้งเดิมกล่าวว่าวัดแห่งนี้สร้างตั้งแต่ครั้งสมัยพระเจ้าอนุรุทธราช แห่งเมืองเวียงจันทน์ โบราณสถานสำคัญภายในวัดได้แก่ ธาตุเจดีย์ 2 องค์ รวมถึงเสมาอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 โดยมีนิทานปรัมปราของท้องถิ่นเชื่อมโยงกับการสร้างพระธาตุทั้ง 2 องค์

อ่านเพิ่มเติม