แหล่งโบราณคดี


แสดง 81 ถึง 100 จาก 195 ผลลัพธ์

ถนนขึ้นดอยสุเทพ

ถ.ทางขึ้นดอยสุเทพ (ถนนศรีวิชัย) (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1004) (ต่อเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ – ดอยสุเทพ) ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

วัดชลอ

ถ.บางกรวย-ไทรน้อย ม.3 ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์ภูธาตุ

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองยาว ซ.วัดหนองยาวใต้ ถ.พหลโยธิน ต.หนองยาว อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี

อ่านเพิ่มเติม

ผาเสด็จพัก

ม.5 บ้านเขาเกตุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี ผาเสด็จพักเป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดสระบุรี มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับสถาบันพระมหากษัตริย์และประวัติการคมนาคมไทย โดยเฉพาะกิจการการรถไฟ เป็นเส้นทางผ่านของทางรถไฟสายแรกของไทยที่มุ่งสู่อีสาน คือทางรถไฟสายพระมหานคร-นครราชสีมา ก่อสร้างโดยพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

อ่านเพิ่มเติม

วัดสักน้อย (ร้าง)

เลขที่ 20 ม.9 บ้านสักน้อย ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

อ่านเพิ่มเติม

ศิลาจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ จปร.

ตั้งอยู่ริม ถ.เพชรเกษม ม.1 ต.จ.ป.ร. อ.กระบุรี จ.ระนอง  ประดิษฐานศิลาจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ จปร ที่สลักขึ้นในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินทางบกและทางเรือประพาสรอบแหลมมลายูเมื่อ พ.ศ.2433 นอกจากนั้นยังประดิษฐานจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ ภปร และพระนามาภิไธยย่อ สก และ สธ อีกด้วย

อ่านเพิ่มเติม

คุกขี้ไก่

ม.1 ต.ปากน้ำแหลมสิงห์ อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี คุกขี้ไก่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกองทหารฝรั่งเศสที่เข้ามายึดเมืองจันทบุรีในช่วงนั้น (พ.ศ.2436) ใช้เป็นป้อมปืนและที่คุมขังคน โดยขังคนไว้ด้านล่างและเลี้ยงไก่ไว้ด้านบน ให้ไก่อุจจาระรดศีรษะนักโทษ จึงได้ชื่อว่าคุกขี้ไก่

อ่านเพิ่มเติม

โบราณสถานตึกแดง

ม.1 ต.ปากน้ำแหลมสิงห์ อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกองทหารฝรั่งเศสสร้างขึ้นเพื่อเป็นกองบัญชาการและที่พักนายทหารที่รักษาปากน้ำแหลมสิงห์ เมื่อสมัยฝรั่งเศสยึดเมืองจันทบุรี (พ.ศ.2436) ลักษณะเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนชั้นเดียวทาสีแดง จึงถูกเรียกว่าตึกแดง

อ่านเพิ่มเติม

วัดดวงดี

ต.ศรีภูมิ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยใด แต่หลักฐานเก่าสุดคือจารึกฐานพระพุทธรูปทองสำริดที่ประดิษฐานอยู่ในวิหารเป็นจารึกอักษรไทยยวน ภาษาไทยยวน กำหนดอายุอยู่ในช่วง พ.ศ.2039 ตรงกับสมัยพระเจ้ายอดเชียงรายครองเมืองเชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

วัดบางปรง

ม.9 บ้านบางปรง ต.บางพระ อ.เมืองฉะเชิงเทรา จ.ฉะเชิงเทรา

อ่านเพิ่มเติม

วัดถนนคต

ม.11 บ้านถนนคต ต.สีคิ้ว อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ตามประวัติวัดกล่าวว่าวัดถนนคตก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2442 โดยชาวยวน โดยมีหลักฐานคือรูปแบบศิลปกรรมของอุโบสถ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ 25 สิงหาคม พ.ศ.2464

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้1

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้2

ตั้งอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายของภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ 2 จุด เขียนเป็นภาพลายเส้นด้วยสีแดง มีลวดลายเป็นเส้นคู่ขนานคล้ายตัววาย (Y) กากบาท ภาพเส้นคดขนานกันหลายเส้น ลายรูปวงกลมที่มีเส้นคู่ขนานยื่นออกไป 6 ทิศทาง คล้ายกับพระอาทิตย์ นอกจากนี้ยังมีเส้นคู่ขนานที่เป็นตัวเชื่อมต่อกับภาพต่างๆ อีกด้วย 

อ่านเพิ่มเติม

ลานสาวเอ้

กองหินที่ลานสาวเอ้ อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายภาพเขียนสีแดงยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นเส้นแนวตั้งเรียงกันเป็นแถวจำนวน 22 เส้น และมีเส้นแนวนอนเชื่อมด้านล่างหลายช่วง นอกจากนี้ยังพบเศษภาชนะดินเผาเนื้อแกร่ง สีเทาเข้มและดำ ตกแต่งด้วลายขูดขีดเป็นเส้นคู่ขนานรอบคอภาชนะ 

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์เก่าวัดเก๋งโรงพยาบาลระยอง(วัดจันทอุดม)

โรงพยาบาลระยอง เลขที่ 138 ถ.สุขุมวิท ต.ท่าประดู่ (เทศบาลนครระยอง) อ.เมืองระยอง จ.ระยอง จากประวัติระบุว่าเจดีย์องค์นี้เป็นเจดีย์ของวัดโบราณชื่อ “วัดจันทอุดม” หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “วัดเก๋ง” เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย ในสมัยรัชกาลที่ 5 วัดเก๋งเป็นพระอารามแห่งแรกที่จัดการศึกษาเทียบเท่าระดับมัธยมขึ้นในจังหวัดระยอง เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีต่างๆ เช่น พิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาของข้าราชการ

อ่านเพิ่มเติม

พระบาทหลังเต่า

รอยพระบาทหลังเต่า อยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี  เป็นรอยพระพุทธบาทที่ประดิษฐานอยู่บนลานหินบริเวณสันเขาทางทิศใต้ของภูพระบาท ที่มาของชื่อพระพุทธบาทหลังเต่า มาจากก้อนหินขนาดใหญ่ก้อนหนึ่งที่อยู่บริเวณใกล้เคียง มีลักษณะด้านบนโค้งและมีลวดลายคล้ายหลังเต่า ชาวบ้านจึงเรียกพระพุทธบาทที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกันว่า “พระพุทธบาทหลังเต่า”

อ่านเพิ่มเติม

ศาลหลักเมืองขอนแก่น

ถ.ศรีจันทร์ เทศบาลนครขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองชุมแพ

ถ.ราษฎร์บำรุง เทศบาลเมืองชุมแพ ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

วัดป่าพระนอนพัฒนาราม

ม.4 บ้านโนนเมือง ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ธาตุ (วัดโพธิ์ธาตุ)

วัดโพธิ์ธาตุ ถ.โพธิ์ธาตุ ม.1 บ้านชุมแพ (เทศบาลเมืองชุมแพ) ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม