อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี มีลวดลายของภาพเขียนสีที่ปรากฏอยู่บนเพดานและผนังของเพิงหิน ที่โดดเด่นคือลายหยักฟันเลื่อย อายุราว 3,000-2,500 ปีมาแล้ว
เลขที่ 441 บ้านพระลับ ถ.หลังเมือง เทศบาลนครขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น
ม.11 บ้านรางจั่น ต.หนองขาว (เทศบาลตำบลหนองหญ้าดอกขาว) อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
เลขที่ 1 ม.1 บ้านหนองขาว ต.หนองขาว (เทศบาลตำบลหนองขาว) อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
ถ.สุขุมวิทนครระยอง 62 (ถ.หลักเมือง) ต.ท่าประดู (เทศบาลนครระยอง) อ.เมืองระยอง จ.ระยอง เสาหลักเมืองของจังหวัดระยองสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2438 ตรงกับรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ศาลเป็นศาลไม้ ต่อมาราว พ.ศ.2468 เสาหลักเมืองและศาลชำรุดและหักลง ชาวบ้านจึงช่วยกันทำการปักลงที่เดิม แต่ยังไม่มีการสร้างอาคารคลุม คงปล่อยให้อยู่กลางแดดกลางฝนตามสภาพเดิม จน พ.ศ.2532 ชาวระยองเห็นควรปรับปรุงหลักเมืองและศาลหลักเมืองให้มั่นคงแข็งแรง
ต.เทพกระษัตรี (เทศบาลตำบลเทพกระษัตรี) อ.ถลาง จ.ภูเก็ต นักวิชาการท้องถิ่นได้ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดี สภาพพื้นที่ และเรื่องเล่าต่างๆ แล้ว จึงสันนิษฐานว่าพื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ตั้งบ้านของท้าวเทพกระษัตรี (จัน)
อนุสาวรีย์ปราบฮ่อ (เก่า) ปัจจุบันอยู่ในสถานีตำรวจภูธรเมืองหนองคาย อ.เมืองหนองคาย เป็นอนุสรณ์สถานที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ได้โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2429 เพื่อบรรจุอัฐิของเหล่าทหารที่เสียสละชีวิตปกป้องประเทศจากเหตุการณ์ปราบฮ่อเมื่อ พ.ศ.2420-2428
ม.3 และ ม.4 ต.เทพกระษัตรี อ.ถลาง จ.ภูเก็ต “โคกพม่า” แต่เดิมเป็นที่นาของเจ้าเมืองถลางบ้านเคียน และเป็นสมรภูมิในศึกถลางเมื่อปี 2328 โดยปรากฏตามหลักฐานประวัติศาสตร์ว่าทัพถลางชนะกองทัพพม่าบริเวณนี้เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2328 หรือที่มักเรียกว่า วันถลางชนะศึก
ม.2 บ้านโพนพระ ต.โคกคอน อ.โคกคอน จ.หนองคาย จากหลักฐาน เช่น โครงกระดูกมนุษย์ และภาชนะดินเผา แสดงให้เห็นว่าพื้นที่บ้านโพนพระอาจเป็นพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ฝังศพของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย หรือสมัยเหล็ก โดยมีการฝังเครื่องเซ่นไปพร้อมกับร่างของผู้ตายด้วย
ม.4 บ้านเวียงคุก ต.เวียงคุก (เทศบาลตำบลเวียงคุก) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย
วัดกุกุรัตนาราม หรือวัดไก่แก้ว ตั้งอยู่ในเทศบาลตำบลปะโค อ.เมืองหนองคาย ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.2466 ภายในวัดปรากฏซากโบราณสถานที่สันนิษฐานว่าเป็นศาสนสถานของเมืองโบราณเวียงงัว บริเวณหน้าอุโบสถของวัด เป็นเจดีย์ขนาดเล็ก 1 องค์ ชาวบ้านเรียกว่า “ธาตุไก่แก้ว”
ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ โบราณสถานกู่ผีบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกในปัจจุบัน ไม่ปรากฏที่มาและเอกสารที่กล่าวถึงวัดนี้ที่ชัดเจน ปัจจุบันเป็นวัดร้างตั้งอยู่ภายในพื้นที่สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าเชิงดอยสุเทพและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าดอยสุเทพ สันนิษฐานว่าศาสนสถานของวัดในฝ่ายอรัญวาสีหรือวัดป่าของเมืองเชียงใหม่