แหล่งโบราณคดี


แสดง 221 ถึง 240 จาก 330 ผลลัพธ์

วัดกู่ป้าด้อม

ต.หนองผึ้ง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ แต่เดิมโบราณสถานตั้งอยู่บนที่ดินของป้าด้อม ชาวบ้านจึงเรียกโบราณสถานตามชื่อเจ้าของที่ดินว่า วัดกู่ป้าด้อม สันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์แดง

ตั้งอยู่ ม.2 บ้านไร่เพนียด ต.บ้านหม้อ อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี จากรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของเจดีย์สันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุอยู่ในช่วงตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 23 อาจสัมพันธ์กับเหตุการณ์เมื่อครั้งขุนหลวงสรศักดิ์ (พระเจ้าเสือ) เสด็จมาล้อมช้างที่เพชรบุรี ซึ่งสอดคล้องกับชื่อบ้านไร่เพนียด

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์เก่าวัดเก๋งโรงพยาบาลระยอง(วัดจันทอุดม)

โรงพยาบาลระยอง เลขที่ 138 ถ.สุขุมวิท ต.ท่าประดู่ (เทศบาลนครระยอง) อ.เมืองระยอง จ.ระยอง จากประวัติระบุว่าเจดีย์องค์นี้เป็นเจดีย์ของวัดโบราณชื่อ “วัดจันทอุดม” หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “วัดเก๋ง” เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย ในสมัยรัชกาลที่ 5 วัดเก๋งเป็นพระอารามแห่งแรกที่จัดการศึกษาเทียบเท่าระดับมัธยมขึ้นในจังหวัดระยอง เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีต่างๆ เช่น พิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาของข้าราชการ

อ่านเพิ่มเติม

วัดอุโบสถ

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ชาวบ้านได้ทำการขุดโบราณสถานนี้ พบพระพิมพ์และวัตถุทางศาสนาในบริเวณโบราณสถานเป็นจำนวนมาก จากหลักฐานที่ปรากฏทั้งรูปแบบโบราณสถานและอิฐจารึกอักษรฝักขาม สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 21

อ่านเพิ่มเติม

วัดกู่อ้ายสี

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ชื่อมาจากที่โบราณสถานติดกับที่ดินของนายสี โบราณสถานประกอบด้วย เจดีย์ วิหาร แท่นบูชา และแนวกำแพงแก้วทางด้านทิศใต้ของวิหาร น่าจะสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22

อ่านเพิ่มเติม

พระบาทหลังเต่า

รอยพระบาทหลังเต่า อยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี  เป็นรอยพระพุทธบาทที่ประดิษฐานอยู่บนลานหินบริเวณสันเขาทางทิศใต้ของภูพระบาท ที่มาของชื่อพระพุทธบาทหลังเต่า มาจากก้อนหินขนาดใหญ่ก้อนหนึ่งที่อยู่บริเวณใกล้เคียง มีลักษณะด้านบนโค้งและมีลวดลายคล้ายหลังเต่า ชาวบ้านจึงเรียกพระพุทธบาทที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกันว่า “พระพุทธบาทหลังเต่า”

อ่านเพิ่มเติม

วัดกุมกามทีปราม

ต.หนองผึ้ง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ โบราณสถานประกอบด้วยวิหารหมายเลข 1 และวิหารหมายเลข 2 โบราณวัตถุสำคัญได้แก่ แผ่นอิฐจารึกอักษรฝักขาม พบบริเวณวิหารหมายเลข 1 กำหนดอายุรูปแบบตัวอักษรในระหว่าง พ.ศ. 2100 – 2158

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระอุด

ต.หนองผึ้ง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ สภาพโบราณสถานโดยรวมคงเหลือแต่เพียงส่วนฐานเท่านั้น ทำให้ไม่สามารถระบุรูปแบบที่ชัดเจนของโบราณสถานได้ แต่จากโบราณวัตถุที่พบคือชิ้นส่วนพระพุทธรูปปูนปั้น และภาชนะดินเผาจากแหล่งเตาล้านนา กำหนดอายุได้ราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22

อ่านเพิ่มเติม

เขาหน้าวังหมี

ม.2, ม.3, ม.7 ต.ทับปริก อ.เมืองกระบี่ จ.กระบี่

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินใกล้อ่างเก็บน้ำพระพุทธบาทบัวบก

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

วัดสระพัง

ม.5 บ้านบัวสิมมา ต.โนนอุดม อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ฉางข้าวนายพราน

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ลานหินวัดพ่อตา

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

โบสถ์วัดพ่อตา

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ธาตุ (วัดโพธิ์ธาตุ)

วัดโพธิ์ธาตุ ถ.โพธิ์ธาตุ ม.1 บ้านชุมแพ (เทศบาลเมืองชุมแพ) ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ธาตุ (ดอนกู่)

เลขที่ 57 ม.15 บ้านหนองกุง ต.กุดกว้าง อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

กู่บ้าน

ม.5 บ้านบัวสิมมา ต.โนนอุดม อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

กุดธาตุ (ธาตุดูกญาคู)

ม.2 บ้านกุดธาตุ ต.กุดธาตุ อ.หนองนาคำ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

วัดโน

ม.3 บ้านม่วงชุม ต.ม่วงชุม (เทศบาลตำบลม่วงชุม) อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

รอยพระพุทธบาท เขางู

เขางู ต.เกาะพลับพลา อ.เมืองราชบุรี จ.ราชบุรี

อ่านเพิ่มเติม