แหล่งโบราณคดี


แสดง 41 ถึง 55 จาก 55 ผลลัพธ์

วัดพญาดำ ตต.6

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ต.หนองอ้อ อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย

อ่านเพิ่มเติม

ดงแม่นางเมือง

ต.เจริญผล, ต.ตาสังข์ อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์

อ่านเพิ่มเติม

ป้อม คูเมือง กำแพงเมืองเชียงใหม่

เทศบาลนครเชียงใหม่ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

วัดเชียงมั่น

เลขที่ 171 บ้านเชียงมั่น ถ.ราชภาคินัย ต.ศรีภูมิ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

พระธาตุดอยสุเทพ

เลขที่ 124 บ้านดอยสุเทพ ม.9 ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

เมืองเชียงใหม่

ต.พระสิงห์ ต.ศรีภูมิ (เทศบาลนครเชียงใหม่) อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาทศีขรภูมิ

บ้านปราสาท ต.ระแงง อ.ศีขรภูมิ จ.สุรินทร์

อ่านเพิ่มเติม

วัดดวงดี

ต.ศรีภูมิ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยใด แต่หลักฐานเก่าสุดคือจารึกฐานพระพุทธรูปทองสำริดที่ประดิษฐานอยู่ในวิหารเป็นจารึกอักษรไทยยวน ภาษาไทยยวน กำหนดอายุอยู่ในช่วง พ.ศ.2039 ตรงกับสมัยพระเจ้ายอดเชียงรายครองเมืองเชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

วัดบ้านฉางประชานิมิตร

วัดบ้านฉางประชานิมิตร ต.เขาน้อย อ.ลำสนธิ จ.ลพบุรี เป็นสถานที่เก็บ “ศิลาจารึกขุนศรีไชยราชมงคลเทพ” ซึ่งจารึกถึงเหตุการณ์ยกทัพไปตีเมืองเขมรในรัชสมัยเจ้าสามพระยาแห่งกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าจารึกขึ้นเมื่อ พ.ศ.1974 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) เสด็จไปตีเมืองพระนครหลวงนั่นเอง

อ่านเพิ่มเติม

วัดพรหมสี่หน้า ตต.8

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ต.ศรีสัชนาลัย อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย

อ่านเพิ่มเติม

วัดเสาหิน

ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ราชวงศาพื้นเมืองเชียงใหม่ที่ระบุถึงพระเจ้าสามฝั่งแกนได้สร้างอุโบสถที่วัดแห่งหนึ่ง ริมฝั่งแม่น้ำปิงด้านทิศเหนือของเวียงกุมกาม และทรงให้ปักเสมาเป็นเสาหินที่อุโบสถ แต่จากหลักฐานจารึกพบว่าน่าจะสร้างขึ้นในช่วงรัชกาลของพระเจ้าติโลกราช เมื่อ พ.ศ. 2023

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาทตาเมือน

ม.8 บ้านหนองคันนา ต.ตาเมียง อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาทตาเมือนโต๊ด

ม.8 บ้านหนองคันนา ต.ตาเมียง อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาทตาเมือนธม

ม.8 บ้านหนองคันนา ต.ตาเมียง อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำฤๅษี เขางู

เป็นหนึ่งในถ้ำของเขางู ต.เกาะพลับพลา อ.เมืองราชบุรี จ.ราชบุรี ในคูหาใหญ่ (หรือเรียกกันว่าถ้ำฤๅษี) ที่ผนังถ้ำมีภาพสลักนูนต่ำพระพุทธรูปประทับห้อยพระบาทสมัยทวารวดี สูงประมาณ 2.5 เมตร พระหัตถ์ขวาแสดงปางแสดงธรรมเทศนา (วิตรรกะมุทรา) ระหว่างข้อพระบาททั้ง 2 ข้าง มีจารึกอักษรปัลลวะตอนปลาย ภาษาสันสกฤต รูปแบบอักษรเป็นแบบที่นิยมใช้ในอินเดียใต้ในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 12

อ่านเพิ่มเติม