ข้างตลาดสดเทศบาลตำบลเวียงคุก ถ.แก้ววรวุฒิ ม.4 บ้านเวียงคุกเหนือ ต.เวียงคุก อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย
ถ.หนองคาย-โนพิสัย (ทางหลวงหมายเลข 212) ต.ในเมือง (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย
ถ.แก้ววรวุฒิ ม.1 บ้านจอมมณี ต.มีชัย (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย
ม.5 บ้านกวนวันใหญ่ ต.กวนวัน (เทศบาลตำบลกวนวัน) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ภายในวัดมีซากโบราณสถานก่ออิฐรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1 หลัง หันหน้าไปทางทิศตะวันออก และศิลาจารึก 1 หลัก เก็บไว้ภายในวิหาร จารึกดังกล่าวเรียกกันโดยทั่วไปว่า "จารึกวัดไชยเชษฐา"
วัดกุกุรัตนาราม หรือวัดไก่แก้ว ตั้งอยู่ในเทศบาลตำบลปะโค อ.เมืองหนองคาย ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.2466 ภายในวัดปรากฏซากโบราณสถานที่สันนิษฐานว่าเป็นศาสนสถานของเมืองโบราณเวียงงัว บริเวณหน้าอุโบสถของวัด เป็นเจดีย์ขนาดเล็ก 1 องค์ ชาวบ้านเรียกว่า “ธาตุไก่แก้ว”
ถ.มีชัย ต.ในเมือง (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ตามประวัติวัดกล่าวว่า สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2100 หรือ 2120 โดยพระไชยเชษฐาแห่งอาณาจักรล้านช้าง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญภายในวัดศรีเมือง ได้แก่ พระไชยเชษฐา เจดีย์ทรงปราสาทหรือกู่ พระพุทธรูปสัทธาธิกหรือหลวงพ่อศรีเมือง และศิลาจารึกสมัยล้านช้าง
ตั้งอยู่ในเทศบาลตำบลเวียงคุก อ.เมืองหนองคาย หรือในพื้นที่เวียงคุก เมืองโบราณที่พบหลักฐานการอยู่อาศัยมาตั้งแต่ช่วงต้นยุคประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยทวารวดี เรื่อยมาถึงสมัยเขมรและล้านช้าง วัดแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช แห่งล้านช้าง ราว พ.ศ.2200 โดยทรงอนุญาตให้ใช้พระนามพระราชธิดาทั้ง 2 องค์เป็นชื่อวัด คือ วัดกุศลนารี (พระธิดาองค์ใหญ่) และวัดสาวสุวรรณาราม (พระธิดาองค์เล็ก) เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระราชธิดาทั้งสองได้ทรงอุปถัมภ์มาโดยตลอด
เลขที่ 4 ถ.แก้ววรวุฒิ ม.2 บ้านเวียงคุก ต.เวียงคุก (เทศบาลตำบลเวียงคุก) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ประวัติดั้งเดิมกล่าวว่าวัดแห่งนี้สร้างตั้งแต่ครั้งสมัยพระเจ้าอนุรุทธราช แห่งเมืองเวียงจันทน์ โบราณสถานสำคัญภายในวัดได้แก่ ธาตุเจดีย์ 2 องค์ รวมถึงเสมาอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 โดยมีนิทานปรัมปราของท้องถิ่นเชื่อมโยงกับการสร้างพระธาตุทั้ง 2 องค์
เทศบาลตำบลปะโค อ.เมืองหนองคาย มีตำนานท้องถิ่นเกี่ยวกับการประดิษฐานพระธาตุใน พ.ศ.8 และเชื่อกันว่าผู้ที่ก่อสร้างพระธาตุคือ พระโพธิสาลราช กษัตริย์ล้านช้าง พระราชบิดาของสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช เมื่อ พ.ศ.2063-2093 อย่างไรก็ดี จากรูปแบบสถาปัตยกรรมรูปทรงเจดีย์ที่เป็นทรงระฆังที่พบไม่มากในศิลปะล้านช้าง ทำให้นักวิชาการสันนิษฐานว่าพระธาตุองค์นี้น่าจะสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 22 ลงมา
เลขที่ 146 ถ.บำรุงเมือง แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
เลขที่ 146 ถ.บำรุงเมือง แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
บ้านเขากลาง ม.13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ คือ ภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ และภาพเขียนสีสมัยอยุธยาที่เขียนเป็นภาพเรื่องพุทธประวัติและเรื่องราวในพุทธศาสนาและภาพประกอบพิธีกีรรม แบ่งออกได้เป็น 10 กลุ่ม