แหล่งโบราณคดี


แสดง 241 ถึง 260 จาก 330 ผลลัพธ์

เมืองพระรถ, เมืองศรีมโหสถ

ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

โบราณสถานหมายเลข 11 เมืองศรีมโหสถ

สระมะเขือ ซอย 2 ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

สระมะเขือ

ม.1 บ้านสระมะเขือ ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

โบราณสถานหมายเลข 16 เมืองศรีมโหสถ

ม.1 บ้านสระมะเขือ ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

โบราณสถานหมายเลข 17 เมืองศรีมโหสถ

ม.2 บ้านโคกวัด ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

เขาถ้ำพระ

ม.9 บ้านเขาถ้ำพระ ต.ดอนทราย อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี

อ่านเพิ่มเติม

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

ตั้งอยู่ที่แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นวัดประจำรัชกาลของพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี 3 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 และพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9

อ่านเพิ่มเติม

พลับพลาเปลื้องเครื่อง วัดราชบพิธ

ตั้งอยู่แขวงวัดราชบพพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ พลับพลานี้สร้างไว้สำหรับรับเสด็จพระเจ้าแผ่นดินในโอกาสที่เสด็จพระราชดำเนินมาโดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค เพื่อมาพระราชทานผ้าพระกฐิน ตั้งอยู่บนกำแพงวัดใกล้กับสีมามุมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หรือด้านถนนเฟื่องนครตัดกับถนนราชบพิธ

อ่านเพิ่มเติม

พระเจดีย์ วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระมหาเจดีย์เป็นสถาปัตยกรรมหลักของวัดราชบพิธ อยู่ตำแหน่งกึ่งกลางของอาคารบนฐานไพที ภายในวงล้อมของพระระเบียงกลมและพระวิหารทั้ง 4 ทิศ สร้างขึ้นเพื่อเป็นหลักสำคัญในการเคารพบูชา ทั้งองค์เจดีย์และฐานคูหาประดับกระเบื้องเคลือบลายเบญจรงค์ทั้งองค์

อ่านเพิ่มเติม

พระระเบียง วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระระเบียงหรือระเบียงคดตั้งอยู่บนฐานไพทีของอาคารหลักในส่วนเขตพุทธาวาสของวัดราชบพิธ ผนังภายนอกของพระระเบียงบุกระเบื้องเบญจรงค์ ลายกรวยเชิงที่โคนผนัง ลายทั่วไปเป็นพุ่มข้าวบิณฑ์ เทพนมก้านแย่งพื้นเหลือง เป็นลายเดียวกับผนังพระอุโบสถ

อ่านเพิ่มเติม

ศาลาราย วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นศาลาขนาดเล็กตั้งอยู่ด้านหน้าอาคารแต่ละหลังบนฐานไพทีในเขตพุทธาวาสของวัดราชบพิธฯ ตั้งอยู่ทั้ง 4 ทิศ ทิศละ 2 คู่ รวม 8 หลัง เป็นอาคารแบบไทยประเพณี เป็นอาคารโถงโล่งมีปีกนกรอบ

อ่านเพิ่มเติม

พระวิหารทิศ วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระวิหารทิศมี 2 หลัง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของพระเจดีย์ พระวิหารทิศนี้นับเป็นทางเข้าขนาดใหญ่เพื่อเข้าสู่บริเวณภายในพระระเบียงรอบพระเจดีย์วัดราชบพิธฯ

อ่านเพิ่มเติม

พระวิหาร วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระวิหารวัดราชบพิธฯ มีรูปทรงเป็นแบบเดียวกับพระอุโบสถทั้งภายนอกและภายใน ต่างแต่ว่าบานประตูและบานหน้าต่างสลักด้วยไม้เป็นลวดลายเครื่องราชอิสริยาภรณ์เท่านั้น ภายในพระวิหารประดิษฐานพระประทีปวโรทัย

อ่านเพิ่มเติม

พระอุโบสถ วัดราชบพิธ

แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ เป็นพระอุโบสถที่มีความงดงามมากแห่งหนึ่งของไทย รูปทรงภายนอกเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทย ผนังบุกระเบื้องเบญจรงค์ บานประตูหน้าต่างประดับมุกเป็นรูปเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ภายในพระอุโบสถเป็นแบบยุโรปผสมแบบไทย เป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิและพระบรมราชสรีรางคารพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรีถึง 6 พระองค์

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์ (ร้าง) ข้างตลาด

ข้างตลาดสดเทศบาลตำบลเวียงคุก ถ.แก้ววรวุฒิ ม.4 บ้านเวียงคุกเหนือ ต.เวียงคุก อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดโพธิ์ชัย

ถ.หนองคาย-โนพิสัย (ทางหลวงหมายเลข 212) ต.ในเมือง (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดท่าคกเรือ

ถ.แก้ววรวุฒิ ต.ท่าบ่อ (เทศบาลเมืองท่าบ่อ) อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดจอมมณี

ถ.แก้ววรวุฒิ ม.1 บ้านจอมมณี ต.มีชัย (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระไชยเชษฐาธิราช

ม.5 บ้านกวนวันใหญ่ ต.กวนวัน (เทศบาลตำบลกวนวัน) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ภายในวัดมีซากโบราณสถานก่ออิฐรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1 หลัง หันหน้าไปทางทิศตะวันออก และศิลาจารึก 1 หลัก เก็บไว้ภายในวิหาร จารึกดังกล่าวเรียกกันโดยทั่วไปว่า "จารึกวัดไชยเชษฐา"

อ่านเพิ่มเติม

วัดศรีเมือง

ถ.มีชัย ต.ในเมือง (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ตามประวัติวัดกล่าวว่า สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2100 หรือ 2120 โดยพระไชยเชษฐาแห่งอาณาจักรล้านช้าง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญภายในวัดศรีเมือง ได้แก่ พระไชยเชษฐา เจดีย์ทรงปราสาทหรือกู่ พระพุทธรูปสัทธาธิกหรือหลวงพ่อศรีเมือง และศิลาจารึกสมัยล้านช้าง

อ่านเพิ่มเติม