อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
หลุมขุดค้นทางโบราณคดี อุทยานประวัติศาสตร์เมืองศรีเทพ อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ ขุดค้นเมื่อ พ.ศ. 2531 พบหลักฐานสำคัญที่ชี้ให้เห็นถึงร่องรอยดั้งเดิมในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของเมืองศรีเทพ คือ โครงกระดูกมนุษย์และของใช้ กำหนดอายุประมาณ 2,000 ปีมาแล้ว
ต.สำเภาล่ม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา พื้นที่ที่เป็นที่ตั้งของชุมชนชาวโปรตุเกสสมัยอยุธยา นำเสนอผลการขุดค้นพื้นที่โบสถ์และสุสานของชาวโปรตุเกสและคริสตชนในสมัยอยุธยา
วัดพรหมทินใต้ ต.หลุมข้าว อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี พบหลักฐานการอยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ต่อเนื่องมาจนสมัยทวารวดี ที่เป็นเมืองโบราณมีคูน้ำคันดินล้อมรอบ พบจารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลีและสันสกฤต เหรียญเงิน ลูกปัด เป็นต้น
ถ.สาย 1 ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
ถ.สาย 1 ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน เมืองเชียงแสนเป็นเมืองโบราณสำคัญสมัยล้านนา ภายในมีโบราณสถานและโบราณวัตถุที่สำคัญมากมาย ซึ่งมีรูปแบบศิลปะที่แสดงให้เห็นถึงรูปแบบของศิลปะล้านนาที่รับอิทธิพลมาจากส่วนกลางคือ เมืองเชียงใหม่ และส่วนหนึ่งได้มีพัฒนาการและปรับปรุงจนเกิดเป็นรูปแบบท้องถิ่นของตนเอง
ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย วัดช้างค้ำเป็นโบราณสถานของเมืองโบราณเชียงแสน โบราณสถานสำคัญภายในวัด ได้แก่ เจดีย์ที่ทำประติมากรรมรูปช้างล้อมรอบ วัดช้างค้ำหรือวัดช้างเผือกหรือช้างถ้ำ
ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย วัดเชตวันมีปรากฏในพงศาวดารโยนกว่า “ศักราช 998 (พ.ศ.2175 หรือ พ.ศ.2179) ปีชวด อัฐศก เจ้าฟ้าสุทโธธรรมราชา (กษัตริย์อังวะ) ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลบวชกุลบุตรพันหนึ่ง แล้วมีพระราชโองการให้สถาปนาที่วังนางฟ้ากาเผือก เมืองเชียงแสน เป็นพระอาราม ขนานนามว่า วัดเชตวัน แล้วอาราธนาพระมหาเถรวัดป่าไผ่ดอนแท่นมาเป็นเจ้าอาวาส”
ถ.ริมโขง (ทางหลวงหมายเลข 1290) ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย