แหล่งโบราณคดี


แสดง 301 ถึง 320 จาก 420 ผลลัพธ์

วัดพันเลา

ต.หนองหอย อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ วัดพันเลาเป็นโบราณสถานร้าง ชื่อของโบราณสถานมีการสันนิษฐานว่า คำว่า “พัน” อาจหมายถึงยศทางทหารหรือขุนนาง และอาจเป็นวัดที่ถูกอุปถัมภ์โดยนายทหารหรือขุนนางที่ชื่อ “เลา”

อ่านเพิ่มเติม

ศาลหลักเมืองขอนแก่น

ถ.ศรีจันทร์ เทศบาลนครขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองชุมแพ

ถ.ราษฎร์บำรุง เทศบาลเมืองชุมแพ ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

วัดป่าพระนอนพัฒนาราม

ม.4 บ้านโนนเมือง ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

โนนเมือง

ม.4 บ้านโนนเมือง ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

วัดศรีนวล

เลขที่ 441 บ้านพระลับ ถ.หลังเมือง เทศบาลนครขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

วัดโน

ม.3 บ้านม่วงชุม ต.ม่วงชุม (เทศบาลตำบลม่วงชุม) อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

วัดใหญ่ดงรัก

ม.11 บ้านรางจั่น ต.หนองขาว (เทศบาลตำบลหนองหญ้าดอกขาว) อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

วัดอินทาราม

เลขที่ 1 ม.1 บ้านหนองขาว ต.หนองขาว (เทศบาลตำบลหนองขาว) อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

ศาลหลักเมืองระยอง

ถ.สุขุมวิทนครระยอง 62 (ถ.หลักเมือง) ต.ท่าประดู (เทศบาลนครระยอง) อ.เมืองระยอง จ.ระยอง เสาหลักเมืองของจังหวัดระยองสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2438 ตรงกับรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ศาลเป็นศาลไม้ ต่อมาราว พ.ศ.2468 เสาหลักเมืองและศาลชำรุดและหักลง ชาวบ้านจึงช่วยกันทำการปักลงที่เดิม แต่ยังไม่มีการสร้างอาคารคลุม คงปล่อยให้อยู่กลางแดดกลางฝนตามสภาพเดิม จน พ.ศ.2532 ชาวระยองเห็นควรปรับปรุงหลักเมืองและศาลหลักเมืองให้มั่นคงแข็งแรง

อ่านเพิ่มเติม

บ้านท้าวเทพกระษัตรี

ต.เทพกระษัตรี (เทศบาลตำบลเทพกระษัตรี) อ.ถลาง จ.ภูเก็ต นักวิชาการท้องถิ่นได้ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดี สภาพพื้นที่ และเรื่องเล่าต่างๆ แล้ว จึงสันนิษฐานว่าพื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ตั้งบ้านของท้าวเทพกระษัตรี (จัน) 

อ่านเพิ่มเติม

อนุสาวรีย์ปราบฮ่อ (เก่า)

อนุสาวรีย์ปราบฮ่อ (เก่า) ปัจจุบันอยู่ในสถานีตำรวจภูธรเมืองหนองคาย อ.เมืองหนองคาย เป็นอนุสรณ์สถานที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ได้โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2429 เพื่อบรรจุอัฐิของเหล่าทหารที่เสียสละชีวิตปกป้องประเทศจากเหตุการณ์ปราบฮ่อเมื่อ พ.ศ.2420-2428

อ่านเพิ่มเติม

โคกพม่า

ม.3 และ ม.4 ต.เทพกระษัตรี อ.ถลาง จ.ภูเก็ต “โคกพม่า” แต่เดิมเป็นที่นาของเจ้าเมืองถลางบ้านเคียน และเป็นสมรภูมิในศึกถลางเมื่อปี 2328 โดยปรากฏตามหลักฐานประวัติศาสตร์ว่าทัพถลางชนะกองทัพพม่าบริเวณนี้เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2328 หรือที่มักเรียกว่า วันถลางชนะศึก

อ่านเพิ่มเติม

เมืองพระรถ, เมืองศรีมโหสถ

ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

โบราณสถานหมายเลข 11 เมืองศรีมโหสถ

สระมะเขือ ซอย 2 ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

สระมะเขือ

ม.1 บ้านสระมะเขือ ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

โบราณสถานหมายเลข 16 เมืองศรีมโหสถ

ม.1 บ้านสระมะเขือ ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

โบราณสถานหมายเลข 17 เมืองศรีมโหสถ

ม.2 บ้านโคกวัด ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

ตั้งอยู่ที่แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นวัดประจำรัชกาลของพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี 3 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 และพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9

อ่านเพิ่มเติม

พลับพลาเปลื้องเครื่อง วัดราชบพิธ

ตั้งอยู่แขวงวัดราชบพพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ พลับพลานี้สร้างไว้สำหรับรับเสด็จพระเจ้าแผ่นดินในโอกาสที่เสด็จพระราชดำเนินมาโดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค เพื่อมาพระราชทานผ้าพระกฐิน ตั้งอยู่บนกำแพงวัดใกล้กับสีมามุมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หรือด้านถนนเฟื่องนครตัดกับถนนราชบพิธ

อ่านเพิ่มเติม