แหล่งโบราณคดี


แสดง 221 ถึง 240 จาก 501 ผลลัพธ์

ถ้ำคน

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำวัว

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคอกม้าน้อย

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของคอกม้าน้อย

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

หลุมขุดค้นทางโบราณคดี อุทยานประวัติศาสตร์เมืองศรีเทพ

หลุมขุดค้นทางโบราณคดี อุทยานประวัติศาสตร์เมืองศรีเทพ อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ ขุดค้นเมื่อ พ.ศ. 2531 พบหลักฐานสำคัญที่ชี้ให้เห็นถึงร่องรอยดั้งเดิมในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของเมืองศรีเทพ คือ โครงกระดูกมนุษย์และของใช้ กำหนดอายุประมาณ 2,000 ปีมาแล้ว

อ่านเพิ่มเติม

หมู่บ้านโปรตุเกส

ต.สำเภาล่ม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา พื้นที่ที่เป็นที่ตั้งของชุมชนชาวโปรตุเกสสมัยอยุธยา นำเสนอผลการขุดค้นพื้นที่โบสถ์และสุสานของชาวโปรตุเกสและคริสตชนในสมัยอยุธยา

อ่านเพิ่มเติม

เตาแม่น้ำน้อย

ใกล้วัดพระปรางค์ ต.เชิงกลัด อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี

อ่านเพิ่มเติม

บ้านโป่งตะขบ

โรงเรียนบ้านโป่งตะขบ ม.6 บ้านโป่งตะขบ ต.วังม่วง อ.วังม่วง จ.สระบุรี

อ่านเพิ่มเติม

บ้านพรหมทินใต้

วัดพรหมทินใต้ ต.หลุมข้าว อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี พบหลักฐานการอยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ต่อเนื่องมาจนสมัยทวารวดี ที่เป็นเมืองโบราณมีคูน้ำคันดินล้อมรอบ พบจารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลีและสันสกฤต เหรียญเงิน ลูกปัด เป็นต้น

อ่านเพิ่มเติม

หนองราชวัตร

ม.5 บ้านหนองเปล้า ต.หนองราชวัตร อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี

อ่านเพิ่มเติม

เนินประวัติศาสตร์

ตั้งอยู่ ถ.ลุวัง เทศบาลเมืองระนอง ต.เขานิเวศน์ อ.เมืองระนอง จ.ระนอง เป็นบริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของพระที่นั่งรัตนรังสรรค์ ที่ก่อสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2433 และรื้อถอนไปเมื่อ พ.ศ.2507 เพื่อก่อสร้างศาลากลางจังหวัดหลังใหม่

อ่านเพิ่มเติม

พระธาตุดอยภูข้าว (ปูเข้า)

ม.1 บ้านสบรวก ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระธาตุสองพี่น้อง

ม.7 บ้านเชียงแสนน้อย ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระธาตุผาเงา

บ้านสบคำ ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย  แต่เดิมวัดพระธาตุผาเงาเคยเป็นวัดร้าง จนราวปี พ.ศ.2519 วัดสบคำ ริมน้ำโขง ถูกน้ำกัดเซาะ พังทลายลงทุกปี คณะศรัทธาจึงได้ย้ายวัดขึ้นมาสร้างบนเนินดอยคำ (ดอยจัน) บริเวณวัดร้างซึ่งไม่ไกลจากวัดสบคำมากนัก สถานที่ก่อสร้างวัดใหม่หรือบริเวณวัดร้างมีถ้ำที่เรียกว่า ถ้ำผาเงา และมีก้อนหินขนาดใหญ่รูปทรงคล้ายองค์เจดีย์

อ่านเพิ่มเติม

วัดร้างหมายเลข 12 (ในเมืองเชียงแสน)

ถ.สาย 1 ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

วัดร้างหมายเลข 25 (ในเมืองเชียงแสน)

ถ.สาย 1 ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

เมืองเชียงแสน

ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน เมืองเชียงแสนเป็นเมืองโบราณสำคัญสมัยล้านนา ภายในมีโบราณสถานและโบราณวัตถุที่สำคัญมากมาย ซึ่งมีรูปแบบศิลปะที่แสดงให้เห็นถึงรูปแบบของศิลปะล้านนาที่รับอิทธิพลมาจากส่วนกลางคือ เมืองเชียงใหม่ และส่วนหนึ่งได้มีพัฒนาการและปรับปรุงจนเกิดเป็นรูปแบบท้องถิ่นของตนเอง

อ่านเพิ่มเติม

วัดแจ่งท่านาค

ถ.ริมโขง ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

อ่านเพิ่มเติม

วัดช้างค้ำ

ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย วัดช้างค้ำเป็นโบราณสถานของเมืองโบราณเชียงแสน โบราณสถานสำคัญภายในวัด ได้แก่ เจดีย์ที่ทำประติมากรรมรูปช้างล้อมรอบ วัดช้างค้ำหรือวัดช้างเผือกหรือช้างถ้ำ

อ่านเพิ่มเติม

วัดเชตวัน

ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย วัดเชตวันมีปรากฏในพงศาวดารโยนกว่า “ศักราช 998 (พ.ศ.2175 หรือ พ.ศ.2179) ปีชวด อัฐศก เจ้าฟ้าสุทโธธรรมราชา (กษัตริย์อังวะ) ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลบวชกุลบุตรพันหนึ่ง แล้วมีพระราชโองการให้สถาปนาที่วังนางฟ้ากาเผือก เมืองเชียงแสน เป็นพระอาราม ขนานนามว่า วัดเชตวัน แล้วอาราธนาพระมหาเถรวัดป่าไผ่ดอนแท่นมาเป็นเจ้าอาวาส”

อ่านเพิ่มเติม