แหล่งโบราณคดี


แสดง 401 ถึง 420 จาก 577 ผลลัพธ์

ถ้ำเกิ้ง, ถ้ำกวาง

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี พบภาพเขียนสีก่อประวัติศาสตร์ปรากฏอยู่บนเพดานของเพิงหิน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 จุด ที่โดดเด่นจนเป็นที่มาของชื่อถ้ำหรือเพิงหินคือภาพในจุดที่ 3 ที่มีลวดลายเป็นเส้นตรงหักมุมหลายครั้ง คล้ายกับหัวกวางมีเขา

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระอุด

ต.หนองผึ้ง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ สภาพโบราณสถานโดยรวมคงเหลือแต่เพียงส่วนฐานเท่านั้น ทำให้ไม่สามารถระบุรูปแบบที่ชัดเจนของโบราณสถานได้ แต่จากโบราณวัตถุที่พบคือชิ้นส่วนพระพุทธรูปปูนปั้น และภาชนะดินเผาจากแหล่งเตาล้านนา กำหนดอายุได้ราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22

อ่านเพิ่มเติม

วัดเสาหิน

ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ราชวงศาพื้นเมืองเชียงใหม่ที่ระบุถึงพระเจ้าสามฝั่งแกนได้สร้างอุโบสถที่วัดแห่งหนึ่ง ริมฝั่งแม่น้ำปิงด้านทิศเหนือของเวียงกุมกาม และทรงให้ปักเสมาเป็นเสาหินที่อุโบสถ แต่จากหลักฐานจารึกพบว่าน่าจะสร้างขึ้นในช่วงรัชกาลของพระเจ้าติโลกราช เมื่อ พ.ศ. 2023

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระนอนหนองผึ้ง

ต.หนองผึ้ง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ มีตำนานกล่าวถึงในอดีตบริเวณนี้เป็นที่อยู่อาศัยของชาวลัวะ เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 ได้มีพระมหาเถระเจ้าจำนวน 5 รูปธุดงค์มาถึง ชาวลัวะจึงได้นำรังผึ้งจากต้นมะขามริมสระน้ำใกล้หมู่บ้านมาถวายพร้อมสร้างขึ้นเป็นวัดชื่อว่า "วัดหนองผึ้ง"

อ่านเพิ่มเติม

วัดศรีบุญเรือง

ตั้งอยู่ ม.2 ต.หนองหอย อ.เมืองเชียงใหม่ อยู่ฝั่งตะวันตกของเวียงกุมกาม เชื่อกันว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย โดยสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานที่ได้สร้างสะพานข้ามแม่น้ำปิงเป็นแห่งแรก และต่อมาพญามังรายได้สร้างพระอุโบสถถวายแด่พระนางเจ้าเทพคำ พระมารดาของพระองค์ที่สิ้นพระชนม์

อ่านเพิ่มเติม

วัดป่าเปอะ

บ้านป่าเปอะ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เชื่อกันว่าสร้างขึ้นในปี พ.ศ.2204 ซึ่งมีประวัติเล่าว่า สร้างขึ้นโดยพระพรหม (พระที่ชื่อ พรหม) เมื่อได้เดินทางมาฉลองวัด ต้องอาบน้ำล้างโคลนตมเนื่องจากระหว่างทางฝนตก ทำให้พื้นดินและทางเดินเปียกและลื่น มีแต่โคลนตม จึงได้ชื่อว่า "วัดป่าเปอะ"

อ่านเพิ่มเติม

วัดพันเลา

ต.หนองหอย อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ วัดพันเลาเป็นโบราณสถานร้าง ชื่อของโบราณสถานมีการสันนิษฐานว่า คำว่า “พัน” อาจหมายถึงยศทางทหารหรือขุนนาง และอาจเป็นวัดที่ถูกอุปถัมภ์โดยนายทหารหรือขุนนางที่ชื่อ “เลา”

อ่านเพิ่มเติม

เขาหน้าวังหมี

ม.2, ม.3, ม.7 ต.ทับปริก อ.เมืองกระบี่ จ.กระบี่

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินห้วยหินลาด

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

เพิงหินใกล้อ่างเก็บน้ำพระพุทธบาทบัวบก

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำโนนหินเกลี้ยง1

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ศาลหลักเมืองขอนแก่น

ถ.ศรีจันทร์ เทศบาลนครขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองชุมแพ

ถ.ราษฎร์บำรุง เทศบาลเมืองชุมแพ ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

บ้านบัวสิมมา

ม.5 บ้านบัวสิมมา ต.โนนอุดม อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

วัดสระพัง

ม.5 บ้านบัวสิมมา ต.โนนอุดม อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

วัดป่าพระนอนพัฒนาราม

ม.4 บ้านโนนเมือง ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำโนนหินเกลี้ยง2

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำสูง

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี มีลวดลายของภาพเขียนสีที่ปรากฏอยู่บนเพดานและผนังของเพิงหิน ที่โดดเด่นคือลายหยักฟันเลื่อย อายุราว 3,000-2,500 ปีมาแล้ว 

อ่านเพิ่มเติม

ฉางข้าวนายพราน

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านเมืองพาน ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ลานหินวัดพ่อตา

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม