แหล่งโบราณคดี


แสดง 321 ถึง 340 จาก 577 ผลลัพธ์

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์เตาสังคโลก

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ต.ศรีสัชนาลัย อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย

อ่านเพิ่มเติม

วัดชลอ

ถ.บางกรวย-ไทรน้อย ม.3 ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์ภูธาตุ

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองยาว ซ.วัดหนองยาวใต้ ถ.พหลโยธิน ต.หนองยาว อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี

อ่านเพิ่มเติม

ผาเสด็จพัก

ม.5 บ้านเขาเกตุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี ผาเสด็จพักเป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดสระบุรี มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับสถาบันพระมหากษัตริย์และประวัติการคมนาคมไทย โดยเฉพาะกิจการการรถไฟ เป็นเส้นทางผ่านของทางรถไฟสายแรกของไทยที่มุ่งสู่อีสาน คือทางรถไฟสายพระมหานคร-นครราชสีมา ก่อสร้างโดยพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

อ่านเพิ่มเติม

วัดเพลง (ร้าง)

ต.บางขนุน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

อ่านเพิ่มเติม

วัดสักน้อย (ร้าง)

เลขที่ 20 ม.9 บ้านสักน้อย ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาทศีขรภูมิ

บ้านปราสาท ต.ระแงง อ.ศีขรภูมิ จ.สุรินทร์

อ่านเพิ่มเติม

พระธาตุยาคู

ม.7 บ้านเสมา ต.โนนศิลาเลิง อ.ฆ้องชัยพัฒนา จ.กาฬสินธุ์

อ่านเพิ่มเติม

วัดธาตุเมืองพิณ

ม.7 บ้านโนนธาตุ  ต.ฝั่งแดง อ.นากลาง จ.หนองบัวลำภู

อ่านเพิ่มเติม

ศิลาจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ จปร.

ตั้งอยู่ริม ถ.เพชรเกษม ม.1 ต.จ.ป.ร. อ.กระบุรี จ.ระนอง  ประดิษฐานศิลาจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ จปร ที่สลักขึ้นในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินทางบกและทางเรือประพาสรอบแหลมมลายูเมื่อ พ.ศ.2433 นอกจากนั้นยังประดิษฐานจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ ภปร และพระนามาภิไธยย่อ สก และ สธ อีกด้วย

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์วัดกิตติ (ในโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่)

โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ ถ.ราชมรรคา 5 ต.พระสิงห์ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

บ้านคูเมือง

บ้านคูเมือง ต.คูเมือง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี มีการใช้พื้นที่ของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่นฐานระยะแรกน่าจะเป็นชุมชนโบราณในสมัยสำริด อายุราว 2,500 ปีมาแล้ว ทางทิศตะวันออกของเมืองด้านนอกคูน้ำคันดิน ปรากฏการสร้างศาสนสถานขึ้น คือ โบราณสถานโนนแก ส่วนด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้นอกคูเมือง มีการขุดหนองน้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่ ซึ่งน่าจะเป็นบารายในสมัยวัฒนธรรมเขมร

อ่านเพิ่มเติม

บ้านก้านเหลือง

บ้านก้านเหลือง ต.ขามใหญ่ อ.เมืองอุบลราชธานี แหล่งโบราณคดีบ้านก้านเหลืองมีอายุอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ต่อเนื่องมายังยุคประวัติศาสตร์ตอนต้น หรือตั้งแต่ 2,800-1,500 ปีมาแล้ว พบหลักฐานของการฝังศพครั้งที่ 2 ในภาชนะดินเผา ปัจจุบันมีการจัดแสดงหลุมขุดค้นและนิทรรศการ

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์ (ร้าง) วัดฟ่อนสร้อย

ถ.ถนนพระปกเกล้าซอย 2 ต.พระสิงห์ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์วัดหมื่นกอง

ถ.ราชวิถี ต.ศรีภูมิ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าวัดหมื่นกองสร้างขึ้นเมื่อใด แต่สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระยาติโลกราช พ.ศ.1985 เป็นวัดที่ขึ้นกับวัดอุโมงค์ ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของเจดีย์วัดหมื่นกองเป็นเจดีย์ทรงระฆังแบบศิลปะแบบพม่า

อ่านเพิ่มเติม

เนินโบราณสถานใกล้วัดป่าแดง

ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ตามประวัติในเอกสารสันนิษฐานระบุว่าวัดนี้น่าจะเป็นวัดป่าแดงหลวง เป็นวัดเข้าสำนักพุทธศาสนานิกายป่าแดง ปรากฏหลักฐานในเอกสารทางประวัติศาสตร์ว่า พญาติโลกราช (พ.ศ.1985-2031) สร้างวัดป่าแดงหลวงขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิพระราชบิดา (พญาสามฝั่งแกน) และพระราชมารดา

อ่านเพิ่มเติม

คุกขี้ไก่

ม.1 ต.ปากน้ำแหลมสิงห์ อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี คุกขี้ไก่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกองทหารฝรั่งเศสที่เข้ามายึดเมืองจันทบุรีในช่วงนั้น (พ.ศ.2436) ใช้เป็นป้อมปืนและที่คุมขังคน โดยขังคนไว้ด้านล่างและเลี้ยงไก่ไว้ด้านบน ให้ไก่อุจจาระรดศีรษะนักโทษ จึงได้ชื่อว่าคุกขี้ไก่

อ่านเพิ่มเติม

โบราณสถานตึกแดง

ม.1 ต.ปากน้ำแหลมสิงห์ อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกองทหารฝรั่งเศสสร้างขึ้นเพื่อเป็นกองบัญชาการและที่พักนายทหารที่รักษาปากน้ำแหลมสิงห์ เมื่อสมัยฝรั่งเศสยึดเมืองจันทบุรี (พ.ศ.2436) ลักษณะเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนชั้นเดียวทาสีแดง จึงถูกเรียกว่าตึกแดง

อ่านเพิ่มเติม

วัดดวงดี

ต.ศรีภูมิ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยใด แต่หลักฐานเก่าสุดคือจารึกฐานพระพุทธรูปทองสำริดที่ประดิษฐานอยู่ในวิหารเป็นจารึกอักษรไทยยวน ภาษาไทยยวน กำหนดอายุอยู่ในช่วง พ.ศ.2039 ตรงกับสมัยพระเจ้ายอดเชียงรายครองเมืองเชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

วัดบ้านฉางประชานิมิตร

วัดบ้านฉางประชานิมิตร ต.เขาน้อย อ.ลำสนธิ จ.ลพบุรี เป็นสถานที่เก็บ “ศิลาจารึกขุนศรีไชยราชมงคลเทพ” ซึ่งจารึกถึงเหตุการณ์ยกทัพไปตีเมืองเขมรในรัชสมัยเจ้าสามพระยาแห่งกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าจารึกขึ้นเมื่อ พ.ศ.1974 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) เสด็จไปตีเมืองพระนครหลวงนั่นเอง

อ่านเพิ่มเติม