ต.ป่าเขาหินตัด อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา เป็นแหล่งวัตถุดิบหินทรายของคนโบราณในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 15-18 สำหรับใช้ในการก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ โดยเฉพาะปราสาทในวัฒนธรรมเขมรในเขตอำเภอสีคิ้วและอำเภอสูงเนินในปัจจุบัน
ม.1 บ้านคูเมือง ต.คูเมือง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี อูบมุงเป็นซากโบราณสถานก่ออิฐในวัฒนธรรมขอมของเมืองโบราณบ้านคูเมือง ตั้งอยู่ห่างจากคูเมืองชั้นในของเมืองโบราณบ้านคูเมืองมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 600 เมตร
ม.2 บ้านสระไข่น้ำ ต.กุดตุ้ม อ.เมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ, วัดสุลาลัย ต.โพนทอง อ.เมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ
ม.11 บ้านถนนคต ต.สีคิ้ว อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ตามประวัติวัดกล่าวว่าวัดถนนคตก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2442 โดยชาวยวน โดยมีหลักฐานคือรูปแบบศิลปกรรมของอุโบสถ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ 25 สิงหาคม พ.ศ.2464
ม.3 บ้านเมืองน้อยใต้ ต.ในเมือง (เทศบาลเมืองชัยภูมิ) อ.เมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ
อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ต.ศรีสัชนาลัย อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย
โรงเรียนบ้านชุมแพ ม.10 ถ.ชายทุ่ง บ้านชุมแพ ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น
ตั้งอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายของภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ 2 จุด เขียนเป็นภาพลายเส้นด้วยสีแดง มีลวดลายเป็นเส้นคู่ขนานคล้ายตัววาย (Y) กากบาท ภาพเส้นคดขนานกันหลายเส้น ลายรูปวงกลมที่มีเส้นคู่ขนานยื่นออกไป 6 ทิศทาง คล้ายกับพระอาทิตย์ นอกจากนี้ยังมีเส้นคู่ขนานที่เป็นตัวเชื่อมต่อกับภาพต่างๆ อีกด้วย
เมืองโบราณสำคัญของล้านนา ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เวียงกุมกามน่าจะถูกสร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 แต่ก่อนหน้านั้นก็เป็นที่ตั้งของชุมชนขนาดเล็กในวัฒนธรรมหริภุญชัย ราวพุทธศตวรรษที่ 18 กระทั่งถูกทิ้งร้างไปเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 23
ตั้งอยู่ในเวียงกุมกาม ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ชื่อของโบราณสถานวัดกานโถมปรากฏอยู่ในพงศาวดารโยนก สร้างโดยพระประสงค์ของพญามังราย สร้างเสร็จเมื่อ จ.ศ.652 (พ.ศ.1833) พร้อมกับหล่อพระพุทธปฏิมากร 5 องค์ ซึ่งมีขนาดเท่าพระองค์ แล้วจึงโปรดให้นายช่างกานโถมหรือกาดโถม สร้างวิหารคลุมพระพุทธรูป
ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ วัดปู่เบี้ยเป็นโบราณสถานร้าง ชื่อของวัดปู่เบี้ยมาจากการที่ชาวบ้านเรียกตามลักษณะชายชราร่างเล็กที่อาศัยอยู่ภายในบริเวณโบราณสถานแห่งนี้ (คำว่า ปู่เบี้ย หมายถึง ปู่เตี้ย) มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 21-22