แหล่งโบราณคดี


แสดง 461 ถึง 480 จาก 577 ผลลัพธ์

วัดกุกุรัตนาราม

วัดกุกุรัตนาราม หรือวัดไก่แก้ว ตั้งอยู่ในเทศบาลตำบลปะโค อ.เมืองหนองคาย ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.2466 ภายในวัดปรากฏซากโบราณสถานที่สันนิษฐานว่าเป็นศาสนสถานของเมืองโบราณเวียงงัว บริเวณหน้าอุโบสถของวัด เป็นเจดีย์ขนาดเล็ก 1 องค์ ชาวบ้านเรียกว่า “ธาตุไก่แก้ว”

อ่านเพิ่มเติม

วัดศรีเมือง

ถ.มีชัย ต.ในเมือง (เทศบาลเมืองหนองคาย) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ตามประวัติวัดกล่าวว่า สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2100 หรือ 2120 โดยพระไชยเชษฐาแห่งอาณาจักรล้านช้าง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญภายในวัดศรีเมือง ได้แก่ พระไชยเชษฐา เจดีย์ทรงปราสาทหรือกู่ พระพุทธรูปสัทธาธิกหรือหลวงพ่อศรีเมือง และศิลาจารึกสมัยล้านช้าง

อ่านเพิ่มเติม

วัดสาวสุวรรณ

ตั้งอยู่ในเทศบาลตำบลเวียงคุก อ.เมืองหนองคาย หรือในพื้นที่เวียงคุก เมืองโบราณที่พบหลักฐานการอยู่อาศัยมาตั้งแต่ช่วงต้นยุคประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยทวารวดี เรื่อยมาถึงสมัยเขมรและล้านช้าง วัดแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช แห่งล้านช้าง ราว พ.ศ.2200 โดยทรงอนุญาตให้ใช้พระนามพระราชธิดาทั้ง 2 องค์เป็นชื่อวัด คือ วัดกุศลนารี (พระธิดาองค์ใหญ่) และวัดสาวสุวรรณาราม (พระธิดาองค์เล็ก) เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระราชธิดาทั้งสองได้ทรงอุปถัมภ์มาโดยตลอด

อ่านเพิ่มเติม

วัดเทพพลประดิษฐาราม

เลขที่ 4 ถ.แก้ววรวุฒิ ม.2 บ้านเวียงคุก ต.เวียงคุก (เทศบาลตำบลเวียงคุก) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย ประวัติดั้งเดิมกล่าวว่าวัดแห่งนี้สร้างตั้งแต่ครั้งสมัยพระเจ้าอนุรุทธราช แห่งเมืองเวียงจันทน์ โบราณสถานสำคัญภายในวัดได้แก่ ธาตุเจดีย์ 2 องค์ รวมถึงเสมาอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 โดยมีนิทานปรัมปราของท้องถิ่นเชื่อมโยงกับการสร้างพระธาตุทั้ง 2 องค์

อ่านเพิ่มเติม

ธาตุโพนจิกเวียงงัว

เทศบาลตำบลปะโค อ.เมืองหนองคาย มีตำนานท้องถิ่นเกี่ยวกับการประดิษฐานพระธาตุใน พ.ศ.8 และเชื่อกันว่าผู้ที่ก่อสร้างพระธาตุคือ พระโพธิสาลราช กษัตริย์ล้านช้าง พระราชบิดาของสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช เมื่อ พ.ศ.2063-2093 อย่างไรก็ดี จากรูปแบบสถาปัตยกรรมรูปทรงเจดีย์ที่เป็นทรงระฆังที่พบไม่มากในศิลปะล้านช้าง ทำให้นักวิชาการสันนิษฐานว่าพระธาตุองค์นี้น่าจะสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 22 ลงมา

อ่านเพิ่มเติม

วัดกู่ผีบ้า(ร้าง)

ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ โบราณสถานกู่ผีบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกในปัจจุบัน ไม่ปรากฏที่มาและเอกสารที่กล่าวถึงวัดนี้ที่ชัดเจน ปัจจุบันเป็นวัดร้างตั้งอยู่ภายในพื้นที่สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าเชิงดอยสุเทพและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าดอยสุเทพ สันนิษฐานว่าศาสนสถานของวัดในฝ่ายอรัญวาสีหรือวัดป่าของเมืองเชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

เลขที่ 146 ถ.บำรุงเมือง แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

พระวิหาร วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

เลขที่ 146 ถ.บำรุงเมือง แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

พุน้อย

ม.4 บ้านพุน้อย ต.สามร้อยยอด อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

วัดยอดแก้ว

ม.4 บ้านเวียงคุก ต.เวียงคุก (เทศบาลตำบลเวียงคุก) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

กู่เจ้าย่าสุตา

ถนนวังเหนือ บ้านป่าไม้ ต.เวียงเหนือ อ.เมืองลำปาง

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาทตาเมือน

ม.8 บ้านหนองคันนา ต.ตาเมียง อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาทตาเมือนโต๊ด

ม.8 บ้านหนองคันนา ต.ตาเมียง อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาทตาเมือนธม

ม.8 บ้านหนองคันนา ต.ตาเมียง อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำเขากลาง

บ้านเขากลาง ม.13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ คือ ภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ และภาพเขียนสีสมัยอยุธยาที่เขียนเป็นภาพเรื่องพุทธประวัติและเรื่องราวในพุทธศาสนาและภาพประกอบพิธีกีรรม แบ่งออกได้เป็น 10 กลุ่ม

อ่านเพิ่มเติม

บ้านโคกโพธิ์

บ้านโคกโพธิ์ ม.10 ต.ท่าแค อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง พบหลักฐานทางโฐราณคดีที่สำคัญคือขวานหินขัด ยุคก่อนประวัติศาสตร์

อ่านเพิ่มเติม

บ้านออกเหมือง

บ้านออกเหมือง ม.7 ต.ปรางหมู่ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญคือ ขวานหินขัด ยุคก่อนประวัติศาสตร์

อ่านเพิ่มเติม

บ้านวังด้วน

บ้านวังด้วน ม.1 ตำบลห้วยทราย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 

 

อ่านเพิ่มเติม

ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน

เลขที่ 2 ถึงเลขที่ 30 ริมถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นตึกแถวที่สร้างขึ้นในสมัยปลายรัชกาลที่ 5 ด้วยสถาปัตยกรรมตะวันตกแบบนีโอคลาสสิก ในพื้นที่เดิมของวังถนนหน้าพระลาน 

อ่านเพิ่มเติม

ตำหนักโปร่งฤทัย

ตั้งอยู่ในสวนพฤกษศาสตร์เขาช่อง ม.7 บ้านกระเจาะ ถ.ตรัง-พัทลุง ต.ช่อง อ.นาโยง จ.ตรัง เป็นเรือนรับรองที่พระยารัษฎานุประดิษฐ์ มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) สมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต สร้างขึ้นเพื่อรับเสด็จสมเด็จพระบรมโอสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เมื่อ พ.ศ. 2452 สำหรับเป็นที่พักระหว่างทางไปสู่น้ำตก

อ่านเพิ่มเติม