แหล่งโบราณคดี


แสดง 21 ถึง 40 จาก 195 ผลลัพธ์

วัดพระบรมธาตุ

ต.เกาะตะเภา อ.บ้านตาก จ.ตาก นักวิชาการบางท่านจึงเสนอว่าวัดพระบรมธาตุอาจสร้างขึ้นตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18 ตรงกับสมัยสุโขทัย กระทั่งถูกทิ้งเป็นวัดร้างในสมัยหลัง ก่อนที่ราว พ.ศ.2440 ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่

อ่านเพิ่มเติม

พระธาตุพนม

วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร เลขที่ 183/13 ถ.ชยางกูร บ้านธาตุพนม ต.ธาตุพนม อ.ธาตุพนม จ.นครพนม

อ่านเพิ่มเติม

บ้านพระปืด

ต.บ้านแร่ อ.เขวาสินรินทร์ จ.สุรินทร์ ปรากฏร่องรอยการใช้พื้นที่ของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ลักษณะเป็นเนินดินที่มีขนาดสูงใหญ่ มีชั้นทับถมของเศษภาชนะดินเผาในระดับที่ลึกลงไปจากผิวดิน

อ่านเพิ่มเติม

โนนแก

บ้านคูเมือง ต.คูเมือง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี โบราณสถานโนนแกมีการก่อสร้างซ้อนทับกัน 2 สมัย คืออาคารที่สร้างขึ้นเนื่องในวัฒนธรรมเขมร ศาสนาฮินดู อายุราวพุทธศตวรรษที่ 17-18 และอาคารหรือสิมในศาสนาพุทธ มีใบเสมาหินทรายปักล้อมรอบ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 24-25

อ่านเพิ่มเติม

พระธาตุนาดูน

ต.พระธาตุ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม พระธาตุนาดูนสร้างขึ้นในปี พ.ศ.2528-2529 บริเวณที่ตั้งของพระธาตุนาดูน เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้จากเจดีย์สำริดขนาดเล็ก (ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติขอนแก่น) ที่พบในบริเวณที่ดินของนายทองดี ปะวะปูตา 

อ่านเพิ่มเติม

เมืองนครพนม

อ.ธาตุพนม จ.นครพนม

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระนางสร้าง

ต.เทพกระษัตรี อ.ถลาง จ.ภูเก็ต วัดพระนางสร้าง เป็นวัดประจำเมืองถลางที่เก่าแก่ที่สุดวัดหนึ่ง เคยเป็นที่ตั้งทัพพม่าในคราวศึกถลางเมื่อ พ.ศ.2328 มีตำนานการสร้างสัมพันธ์กับ “พระนางเลือดขาว” จากลักษณะสถาปัตยกรรมและประติมากรรม นักวิชาการส่วนใหญ่ลงความเห็นว่าวัดพระนางสร้างน่าจะสร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์วัดแขนน

ต.เทพกระษัตรี อ.ถลาง จ.ภูเก็ต วัดแขนนตั้งวัดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2544 เดิมเป็นวัดร้าง ชาวบ้านให้ความสำคัญในฐานะเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพราะเคยมีพระสงฆ์ที่เป็นพระเกจิชื่อดังมาจำพรรษา ซึ่งชาวล้านเชื่อว่าดวงวิญญาณของท่านยังคงสถิตอยู่ที่วัดแห่งนี้ คือ “พ่อท่านไชยคีรี" ภายในวัดมีซากเจดีย์ขนาดเล็กอยู่ 3 องค์ 

อ่านเพิ่มเติม

วัดแจ้ง

ตั้งอยู่ ถ.สรรพสิทธิ์ ต.ในเมือง อ.เมืองอุบลราชธานี (เทศบาลนครอุบลราชธานี) โบราณสถานสำคัญคือ อุโบสถหรือสิมเก่าที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวัด ที่เป็นการผสมผสานระหว่างศิลปะล้านช้างและศิลปะรัตนโกสินทร์

อ่านเพิ่มเติม

วัดบ้านตำแย

วัดบ้านตำแย ตั้งอยู่ ม.1 บ้านตำแย ต.ไร่น้อย อ.เมืองอุบลราชธานี โบราณสถานสำคัญได้แก่ สิม ศิลปะล้านช้างผสมผสานกับศิลปะท้องถิ่น มีตัวอักษรไทยน้อย ภาษาอีสานผสมกับภาษาบาลีเขียนอยู่ที่ผนังด้านนอกเหนือประตูทางเข้าสิมว่า สิมหลังนี้สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ.2417

อ่านเพิ่มเติม

วัดบ้านนาควาย

ซ.สุขาสงเคราะห์ (ระหว่างซอยสุขาสงเคราะห์ 9 กับซอยสุขาสงเคราะห์ 11) ถ.ชยางกูร ต.ในเมือง อ.เมืองอุบลราชธานี (เทศบาลนครอุบลราชธานี) จ.อุบลราชธานี

อ่านเพิ่มเติม

วัดบูรพาราม

ตั้งอยู่ ถ.พโลรังฤทธิ์ ม.6 ต.ปทุม อ.เมืองอุบลราชธานี (เทศบาลนครอุบลราชธานี) สร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ.2436-2453 โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ซึ่งทรงสร้างถวายพระสีทา ชยเสโน แห่งวัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) โบราณสถานสำคัญ ได้แก่ สิมเก่าและหอไตร 2 หลัง รวมทั้งเสมาหินทรายรอบอุโบสถหรือสิมหลังปัจจุบัน

อ่านเพิ่มเติม

วัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหาร

ถ.แก้วเงินทอง (ถ.ฉิมพลี-วัดรัชฎาธิษฐาน) แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดช่างเหล็ก

ซ.วัดช่างเหล็ก ถ.ฉิมพลี แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดตลิ่งชัน

ถ.ชักพระ แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดปากน้ำฝั่งเหนือ

ถ.ปากน้ำฝั่งเหนือ แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดรัชฎาธิษฐานราชวรวิหาร

ถ.แก้วเงินทอง (ถ.ฉิมพลี-วัดรัชฎาธิษฐาน) แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดเรไร

ถ.แก้วเงินทอง (ถ.ฉิมพลี-วัดรัชฎาธิษฐาน) แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดไก่เตี้ย

ซ.บรมราชชนนี 33 ถ.บรมราชชนนี แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 

อ่านเพิ่มเติม

วัดชัยพฤกษมาลาราชวรวิหาร

ถ.ชัยพฤกษ์ แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม