แหล่งโบราณคดี


แสดง 181 ถึง 200 จาก 274 ผลลัพธ์

ป้อม คูเมือง กำแพงเมืองเชียงใหม่

เทศบาลนครเชียงใหม่ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์กุด (ร้าง)

หมู่บ้านสีวลี ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

พระธาตุดอยสุเทพ

เลขที่ 124 บ้านดอยสุเทพ ม.9 ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

เมืองเชียงใหม่

ต.พระสิงห์ ต.ศรีภูมิ (เทศบาลนครเชียงใหม่) อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาทศีขรภูมิ

บ้านปราสาท ต.ระแงง อ.ศีขรภูมิ จ.สุรินทร์

อ่านเพิ่มเติม

พระธาตุยาคู

ม.7 บ้านเสมา ต.โนนศิลาเลิง อ.ฆ้องชัยพัฒนา จ.กาฬสินธุ์

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์วัดกิตติ (ในโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่)

โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ ถ.ราชมรรคา 5 ต.พระสิงห์ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

บ้านคูเมือง

บ้านคูเมือง ต.คูเมือง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี มีการใช้พื้นที่ของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่นฐานระยะแรกน่าจะเป็นชุมชนโบราณในสมัยสำริด อายุราว 2,500 ปีมาแล้ว ทางทิศตะวันออกของเมืองด้านนอกคูน้ำคันดิน ปรากฏการสร้างศาสนสถานขึ้น คือ โบราณสถานโนนแก ส่วนด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้นอกคูเมือง มีการขุดหนองน้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่ ซึ่งน่าจะเป็นบารายในสมัยวัฒนธรรมเขมร

อ่านเพิ่มเติม

บ้านก้านเหลือง

บ้านก้านเหลือง ต.ขามใหญ่ อ.เมืองอุบลราชธานี แหล่งโบราณคดีบ้านก้านเหลืองมีอายุอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ต่อเนื่องมายังยุคประวัติศาสตร์ตอนต้น หรือตั้งแต่ 2,800-1,500 ปีมาแล้ว พบหลักฐานของการฝังศพครั้งที่ 2 ในภาชนะดินเผา ปัจจุบันมีการจัดแสดงหลุมขุดค้นและนิทรรศการ

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์ (ร้าง) วัดฟ่อนสร้อย

ถ.ถนนพระปกเกล้าซอย 2 ต.พระสิงห์ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์วัดหมื่นกอง

ถ.ราชวิถี ต.ศรีภูมิ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าวัดหมื่นกองสร้างขึ้นเมื่อใด แต่สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระยาติโลกราช พ.ศ.1985 เป็นวัดที่ขึ้นกับวัดอุโมงค์ ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของเจดีย์วัดหมื่นกองเป็นเจดีย์ทรงระฆังแบบศิลปะแบบพม่า

อ่านเพิ่มเติม

เนินโบราณสถานใกล้วัดป่าแดง

ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ตามประวัติในเอกสารสันนิษฐานระบุว่าวัดนี้น่าจะเป็นวัดป่าแดงหลวง เป็นวัดเข้าสำนักพุทธศาสนานิกายป่าแดง ปรากฏหลักฐานในเอกสารทางประวัติศาสตร์ว่า พญาติโลกราช (พ.ศ.1985-2031) สร้างวัดป่าแดงหลวงขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิพระราชบิดา (พญาสามฝั่งแกน) และพระราชมารดา

อ่านเพิ่มเติม

หลักเมือง บน.6

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ต.ศรีสัชนาลัย อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย

อ่านเพิ่มเติม

อูบมุง

ม.1 บ้านคูเมือง ต.คูเมือง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี อูบมุงเป็นซากโบราณสถานก่ออิฐในวัฒนธรรมขอมของเมืองโบราณบ้านคูเมือง ตั้งอยู่ห่างจากคูเมืองชั้นในของเมืองโบราณบ้านคูเมืองมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 600 เมตร

อ่านเพิ่มเติม

วัดพรหมสี่หน้า ตต.8

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ต.ศรีสัชนาลัย อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้1

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ดอนวัด

ถ.กุยบุรี-ทุ่งน้อย ม.1 บ้านบ่อกุ่ม ต.ดอนหนู อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

โนนสาวเอ้2

ตั้งอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏลวดลายของภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ 2 จุด เขียนเป็นภาพลายเส้นด้วยสีแดง มีลวดลายเป็นเส้นคู่ขนานคล้ายตัววาย (Y) กากบาท ภาพเส้นคดขนานกันหลายเส้น ลายรูปวงกลมที่มีเส้นคู่ขนานยื่นออกไป 6 ทิศทาง คล้ายกับพระอาทิตย์ นอกจากนี้ยังมีเส้นคู่ขนานที่เป็นตัวเชื่อมต่อกับภาพต่างๆ อีกด้วย 

อ่านเพิ่มเติม

เวียงกุมกาม

เมืองโบราณสำคัญของล้านนา ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เวียงกุมกามน่าจะถูกสร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 แต่ก่อนหน้านั้นก็เป็นที่ตั้งของชุมชนขนาดเล็กในวัฒนธรรมหริภุญชัย ราวพุทธศตวรรษที่ 18 กระทั่งถูกทิ้งร้างไปเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 23

อ่านเพิ่มเติม

ซำเม็ก, ถ้ำนายบาง

ตังอยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านติ้ว ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ปรากฏภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ เขียนด้วยสีแดงเป็นลายคดคล้ายงูภาพเดียว เป็นการเขียนแบบหยาบๆ ทำนองไม่ตั้งใจเขียน คล้ายทดลองแปร

อ่านเพิ่มเติม