แหล่งโบราณคดี


แสดง 61 ถึง 80 จาก 576 ผลลัพธ์

วัดเวียง

ม.4 ต.ตลาด อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี

อ่านเพิ่มเติม

วัดหลง

ม.4 ต.ตลาด อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี

อ่านเพิ่มเติม

เมืองโบราณไชยา

อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี

อ่านเพิ่มเติม

เมืองโบราณพระเวียง

ต.ในเมือง อ.เมืองนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระบรมธาตุไชยา

ม.3 ต.เวียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี

อ่านเพิ่มเติม

เตาเผาโบราณบ้านบัว

ต.แม่กา อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา 

อ่านเพิ่มเติม

ภาพเขียนสีค่ายประตูผา

ตั้งอยู่ที่ บ้านจำปุย ต.บ้างดง อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง พบภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์กระจายอยู่หลายกลุ่มเป็นระยะๆ รวมแล้วมากกว่า 1,872 ภาพ และพบหลุมฝังศพของคนก่อนประวัติศาสตร์ ในสมัยหินใหม่ เมื่อ 2,900-3,200 ปีมาแล้ว 

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระธาตุช่อแฮ

เลขที่ 1 ม.11 ถ.ช่อแฮ ต.ช่อแฮ อ.เมืองแพร่ จ.แพร่

อ่านเพิ่มเติม

ภูซาง

ต.นาซาว อ.เมืองน่าน จ.น่าน แหล่งโบราณคดีภูซาง หรือดอยภูซาง ในอดีต (ประมาณ 700 ถึงกว่า 3,000 ปีมาแล้ว) น่าจะเป็นแหล่งผลิตเครื่องมือหินในระดับอุตสาหกรรรม เพราะพบหลักฐานที่แสดงถึงกระบวนการผลิตเครื่องมือหินเป็นจำนวนมากและกระจายตัวอยู่หนาแน่นเป็นบริเวณกว้าง

อ่านเพิ่มเติม

เมืองปัว

ตั้งอยู่ที่ ต.ปัว อ.ปัว จ.น่าน เป็นเมืองโบราณของล้านนาสมัยแรกเริ่มตั้งเมืองน่าน ที่ตั้งเมืองมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19 อย่างไรก็ดี จากการสำรวจขุดค้นทางโบราณคดี พบหลักฐานการใช้พื้นที่บริเวณเมืองปัวมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์สมัยหินใหม่ (5,000-3,000 ปีมาแล้ว)

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระธาตุลำปางหลวง

บ้านลำปางหลวง ม.1-2 ต.ลำปางหลวง อ.เกาะคา จ.ลำปาง

อ่านเพิ่มเติม

เมืองโบราณเวียงบัว

บ้านบัว ต.แม่กา อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา

อ่านเพิ่มเติม

ชุมชนโบราณสทิงพระ

ต.จะทิ้งพระ อ.สทิงพระ จ.สงขลา

อ่านเพิ่มเติม

ปากจั่น

ต.ปากจั่น อ.กระบุรี จ.ระนอง พบหลักฐานประเภทเศษภาชนะดินเผาทั้งเนื้อดินและเนื้อแกร่ง และพบหลักฐานประเภทลูกปัดแก้วสีเดียว(อินโด-แปซิฟิก) ลูกปัดหิน(คาร์เนเลียนและอาเกต) และเครื่องประดับที่ทำจากทอง ซึ่งล้วนเป็นสินค้าที่นิยมในสมัยอินโด-โรมันนั้น แสดงให้เห็นว่าชุมชนโบราณแห่งนี้ มีการติดต่อกับชุมชนภายนอก  สืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ หรือประมาณพุทธศตวรรษที่ 8

อ่านเพิ่มเติม

ภูเขาทอง

ต.กำพวน อ.สุขสำราญ จ.ระนอง แหล่งโบราณคดีแห่งนี้เป็นเมืองท่ายุคแรก ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีการติดต่อทางการค้ากับอินเดียอย่างชัดเจน หลักฐานสำคัญที่พบมีทั้งลูกปัดแก้ว ลูกปัดหินกึ่งมีค่า ลูกปัดทอง เครื่องปั้นดินเผาจากทั้งที่ผลิตในท้องถิ่นและจากดินแดนตะวันตก

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำผี

ต.นาปู่ป้อม อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน อยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ราว 11,000 ปีมาแล้ว เป็นต้นมา พบหลักฐานทางโบราณคดีทั้งเครือมือหินแบบ Hoabinhian เครื่องมือสะเก็ดหิน เครื่องมือหินขัด เศษภาชนะดินเผา ซากพืช ซากสัตว์ โลงไม้ ซึ่ง Chester Gorman เคยระบุว่าเป็นแหล่งที่พบภาชนะดินเผาและร่องรอยการเพาะปลูกที่เก่าที่สุดในประเทศไทย

อ่านเพิ่มเติม

เพิงผาถ้ำลอด

ตั้งอยู่ภายในพื้นที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าถ้ำน้ำลอด หมู่บ้านถ้ำลอด ต.ถ้ำลอด อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน บริเวณเพิงผาถ้ำลอดมีคนเข้ามาใช้พื้นที่ตั้งแต่สมัยไพลสโตซีนตอนปลายจนถึงโฮโลซีนตอนต้น (ประมาณ 30,000-10,000 ปีมาแล้ว) หลักฐานที่สำคัญได้แก่ หลุมฝังศพมนุษย์ที่ถูกฝังอยู่ในท่านอนงอเข่า อายุกว่า 13,000 ปีมาแล้ว

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำเขาเทียมป่า

ตั้งอยู่ ม.8 บ้านหนองครก ต.หนองปรือ อ.รัษฎา จ.ตรัง พบหลักฐานทางโบราณคดีของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์สมัยหินใหม่ อายุราว 2,000-3,000 ปี  โดยหลักฐานที่สำคัญคือหม้อ 3 ขา และขวานหินขัด

อ่านเพิ่มเติม

สถานีผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าแม่ทะ

ตั้งอยู่ ม.1 บ้านแม่ทะ ต.แม่ทะ อ.แม่ทะ จ.ลำปาง พบเครื่องมือหินหลากหลายประเภท รวมทั้งร่องรอยการผลิตเครื่องมือหิน สันนิษฐานว่าในอดีต สมัยหินใหม่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ พื้นที่บริเวณนี้อาจเป็นแหล่งผลิตเครื่องมือหิน โดยมีแหล่งวัตถุดิบอยู่ไม่ไกลนัก 

อ่านเพิ่มเติม