แหล่งโบราณคดี


แสดง 341 ถึง 360 จาก 420 ผลลัพธ์

ธาตุโพนจิกเวียงงัว

เทศบาลตำบลปะโค อ.เมืองหนองคาย มีตำนานท้องถิ่นเกี่ยวกับการประดิษฐานพระธาตุใน พ.ศ.8 และเชื่อกันว่าผู้ที่ก่อสร้างพระธาตุคือ พระโพธิสาลราช กษัตริย์ล้านช้าง พระราชบิดาของสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช เมื่อ พ.ศ.2063-2093 อย่างไรก็ดี จากรูปแบบสถาปัตยกรรมรูปทรงเจดีย์ที่เป็นทรงระฆังที่พบไม่มากในศิลปะล้านช้าง ทำให้นักวิชาการสันนิษฐานว่าพระธาตุองค์นี้น่าจะสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 22 ลงมา

อ่านเพิ่มเติม

วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

เลขที่ 146 ถ.บำรุงเมือง แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

พระวิหาร วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

เลขที่ 146 ถ.บำรุงเมือง แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

อ่านเพิ่มเติม

พุน้อย

ม.4 บ้านพุน้อย ต.สามร้อยยอด อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

วัดยอดแก้ว

ม.4 บ้านเวียงคุก ต.เวียงคุก (เทศบาลตำบลเวียงคุก) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

กู่เจ้าย่าสุตา

ถนนวังเหนือ บ้านป่าไม้ ต.เวียงเหนือ อ.เมืองลำปาง

อ่านเพิ่มเติม

บ้านโคกโพธิ์

บ้านโคกโพธิ์ ม.10 ต.ท่าแค อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง พบหลักฐานทางโฐราณคดีที่สำคัญคือขวานหินขัด ยุคก่อนประวัติศาสตร์

อ่านเพิ่มเติม

บ้านออกเหมือง

บ้านออกเหมือง ม.7 ต.ปรางหมู่ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญคือ ขวานหินขัด ยุคก่อนประวัติศาสตร์

อ่านเพิ่มเติม

บ้านวังด้วน

บ้านวังด้วน ม.1 ตำบลห้วยทราย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 

 

อ่านเพิ่มเติม

ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน

เลขที่ 2 ถึงเลขที่ 30 ริมถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นตึกแถวที่สร้างขึ้นในสมัยปลายรัชกาลที่ 5 ด้วยสถาปัตยกรรมตะวันตกแบบนีโอคลาสสิก ในพื้นที่เดิมของวังถนนหน้าพระลาน 

อ่านเพิ่มเติม

เมืองสรรคบุรี

ต.แพรกศรีราชา อ.สรรคบุรี จ.สิงห์บุรี เป็นเมืองโบราณที่มีประวัติการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่ช่วยต้นยุคประวัติศาสตร์หรือสมัยทวารวดีเป็นต้นมา โบราณสถานสำคัญในเมืองสรรคบุรี ได้แก่ วัดมหาธาตุ วัดสองพี่น้อง วัดพระแก้ว วัดโตนดหลาย วัดท่าเสา(ร้าง) วัดพระยาแพรก วัดจันทร์ วัดสนามชัย(ร้าง)

อ่านเพิ่มเติม

สถานีรถไฟกันตัง

ตั้งอยู่ถนนหน้าค่าย ต.กันตัง อ.กันตัง จ.ตรัง เป็นสถานีรถไฟที่มีความผูกพันกับประวัติศาสตร์ของการรถไฟไทยและเสณาฐกิจของภาควต้ฝั่งอันดามัน เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2454 โดดเด่นด้วยตัวคารที่เป็นอาคารไม้ชั้นเดียว ทรงปั้นหยา ทาด้วยสีเหลืองมัสตาร์ดสลับสีน้ำตาล

อ่านเพิ่มเติม

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ม.ธรรมศาสตร์ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของไทย ก่อตั้งปี 2477 เพื่อเป็นตลาดวิชาศึกษาด้านกฎหมายและการเมืองสำหรับประชาชนทั่วไป ภายในเนื้อที่ 50 ไร่ ของ ม.ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ แต่เดิมเคยเป็นเขตพระราชฐานของพระราชวังบวรสถานมงคล มาตั้งแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์

อ่านเพิ่มเติม

อนุสาวรีย์หมู

ตั้งอยู่บริเวณเชิงสะพานปีกุน (สะพานข้ามคลองคูเมืองเดิม) เยื้องหน้าวัดราชประดิษฐ์ ริมฝั่งถนนราชินี แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2456 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ มีพระชนมายุครบ 50 พรรษา ออกแบบโดยสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ นอกจากนี้ บริเวณที่ตั้งของอนุสาวรีย์หมูในอดีต ยังเป็นส่วนของกำแพงกรุงธนบุรี 

อ่านเพิ่มเติม

ป้อมวิชัยประสิทธิ์

ป้อมวิชัยประสิทธิ์หรือป้อมวิไชยเยนทร์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ปากคลองบางกอกใหญ่ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ เป็นป้อมปราการที่มีความสำคัญมากแห่งหนึ่งมาตั้งแต่สมัยอยุธยา มีประวัติความเป็นมาเชื่อมโยงกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ปัจจุบันยังคงมีการใช้เป็นที่ยิงสลุตในพระราชพิธีสำคัญต่าง ๆ และมีการติดตั้งเสาธงบริเวณทางเข้าป้อมเพื่อชักธงราชนาวีและธงผู้บัญชาการทหารเรือไทย

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาททองบ้านแสรออ

ตั้งอยู่ภายในวัดปราสาททอง บ้านแสรออ ต.ปราสาททอง อ.เขวาสินรินทร์ จ.สุรินทร์ ลักษณะเป็นปราสาทขอมองค์เดียว จากรูปแบบศิลปกรรมและอายุสมัย สันนิษฐานว่าสร้างโดยชาวเขมรอพยพในสมัยอยุธยาตอนปลาย หรือสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

อ่านเพิ่มเติม

วัดเทพธิดารามวรวิหาร

ตั้งอยู่แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ เดิมชื่อ “วัดพระยาไกรสวนหลวง” เป็นพระอารามหลวงแรกที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.2379 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระราชทานพระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าวิลาส ภายหลังทรงได้ดรับสถาปนาเป็น กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ นับเป็นพระราชธิดาที่ได้รับพระราชอิสริยยศใหญ่ยิ่งเหนือกว่าพระราชธิดาทั้งปวง 

อ่านเพิ่มเติม

พระอุโบสถ วัดเทพธิดารามวรวิหาร

พระอุโบสถวัดเทพธิดารามวรวิหาร แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ เป็นอาคารประธานของวัด ร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีความโดดเด่นด้านสถาปัตยกรรมไทยผสมกับจีนตามแบบพระราชนิยมในรัชกาลที่ 3 ภายในประดิษฐาน “หลวงพ่อขาว” และ “พระพุทธเทววิลาส”

อ่านเพิ่มเติม

พระวิหาร วัดเทพธิดารามวรวิหาร

พระวิหารวัดเทพธิดารามวรวิหาร แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ มีความโดดเด่นด้านสถาปัตยกรรมไทยผสมกับจีนตามแบบพระราชนิยมในรัชกาลที่ 3 ภายในพระวิหารมีจิตรกรรมฝาผนังเขียนเป็นลายหงส์จีนบนพื้นสีแดง พระวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย ที่เบื้องหน้าพระประธานประดิษฐานประติมากรรมรูปหมู่อริยสาวิกา 52 องค์

อ่านเพิ่มเติม

การเปรียญ วัดเทพธิดารามวรวิหาร

การเปรียญวัดเทพธิดาราม แขวงสำราญราษฎร์ กรุงเทพฯ เป็น 1 ใน 3 อาคารหลักของวัด นอกเหนือจากพระอุโบสถและพระวิหาร ภายในการเปรียญ ที่ผนังด้านหลังทำเป็นซุ้มประดิษฐานพระประธาน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หมู่ตู้พระธรรมมีอายุเก่าแก่ที่สุดมาจากสมัยรัตนโกสินธ์ตอนต้น

อ่านเพิ่มเติม