แหล่งโบราณคดี


แสดง 261 ถึง 280 จาก 420 ผลลัพธ์

ปราสาทเมืองน้อยใต้

ม.3 บ้านเมืองน้อยใต้ ต.ในเมือง (เทศบาลเมืองชัยภูมิ) อ.เมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ

อ่านเพิ่มเติม

หนองหินตั้ง

อยู่ระหว่างบ้านโสกคร้อ และบ้านหนองฉิม ต.หนองฉิม อ.เนินสง่า จ.ชัยภูมิ

อ่านเพิ่มเติม

หินตั้ง

ม.4 บ้านหินตั้ง ต.บ้านชวน อ.บำเหน็จณรงค์ จ.ชัยภูมิ

อ่านเพิ่มเติม

วัดพรหมสี่หน้า ตต.8

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ต.ศรีสัชนาลัย อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย

อ่านเพิ่มเติม

ธาตุ (โรงเรียนบ้านชุมแพ)

โรงเรียนบ้านชุมแพ ม.10 ถ.ชายทุ่ง บ้านชุมแพ ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ธาตุกุดแห่น้อย

สำนักสงฆ์ธาตุกุดแห่น้อย ม.2 บ้านนาดอกไม้ ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ดอนวัด

ถ.กุยบุรี-ทุ่งน้อย ม.1 บ้านบ่อกุ่ม ต.ดอนหนู อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

เวียงกุมกาม

เมืองโบราณสำคัญของล้านนา ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เวียงกุมกามน่าจะถูกสร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 แต่ก่อนหน้านั้นก็เป็นที่ตั้งของชุมชนขนาดเล็กในวัฒนธรรมหริภุญชัย ราวพุทธศตวรรษที่ 18 กระทั่งถูกทิ้งร้างไปเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 23

อ่านเพิ่มเติม

วัดช้างค้ำ(กานโถม)

ตั้งอยู่ในเวียงกุมกาม ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ชื่อของโบราณสถานวัดกานโถมปรากฏอยู่ในพงศาวดารโยนก สร้างโดยพระประสงค์ของพญามังราย สร้างเสร็จเมื่อ จ.ศ.652 (พ.ศ.1833) พร้อมกับหล่อพระพุทธปฏิมากร 5 องค์ ซึ่งมีขนาดเท่าพระองค์ แล้วจึงโปรดให้นายช่างกานโถมหรือกาดโถม สร้างวิหารคลุมพระพุทธรูป

อ่านเพิ่มเติม

วัดปู่เปี้ย

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ วัดปู่เบี้ยเป็นโบราณสถานร้าง ชื่อของวัดปู่เบี้ยมาจากการที่ชาวบ้านเรียกตามลักษณะชายชราร่างเล็กที่อาศัยอยู่ภายในบริเวณโบราณสถานแห่งนี้ (คำว่า ปู่เบี้ย หมายถึง ปู่เตี้ย) มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 21-22

อ่านเพิ่มเติม

วัดเจดีย์เหลี่ยม

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ มีอีกชื่อว่า วัดกู่คำ สร้างขึ้นในสมัยที่พญามังรายสถาปนาเมืองเวียงกุมกาม มีการบูรณะครั้งใหญ่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยหลวงโยนการวิจิตร คหบดีชาวมอญ ทำให้มีลักษณะเป็นแบบศิลปะพม่าดังปัจจุบัน

อ่านเพิ่มเติม

วัดอีก้าง(อีค่าง)

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ มีเรื่องเล่าท้องถิ่นว่ามีนางค่างตัวหนึ่งทำประโยชน์แก่พระราชามาก เมื่อนางค่างตายลงพระราชาจึงสร้างจึงสร้างวัดนี้ให้แก่นางค่างตัวนี้ และจากรูปแบบโบราณสถานสันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 22

อ่านเพิ่มเติม

วัดธาตุขาว(วัดกู่ขาว)

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ จากรูปแบบทางสถาปัตยกรรม และโบราณวัตถุสำคัญที่นำมากำหนดอายุการสร้างคือ อิฐจารึกอักษรฝักขาม จึงสันนิษฐานได้ว่าวัดธาตุขาว น่าจะสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระเจ้าองค์ดำ

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ วัดพระเจ้าองค์ดำเป็นโบราณสถานร้าง ชื่อของวัดมาจากชาวบ้านเรียก เนื่องจากมีการพบพระพุทธรูปสำริดที่ถูกไฟไหม้จนเป็นสีดำ คาดว่าสร้างขึ้นในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 20 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 21

อ่านเพิ่มเติม

วัดพญามังราย

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เนินพญามังรายเป็นชื่อเรียกกันตั้งแต่โบราณสถานยังมีสภาพเป็นเนินดิน ที่ตั้งอยู่คู่กับเนินพระเจ้าองค์ดำ จากรูปแบบโบราณสถานสันนิษฐานว่ามีอายุสมัยราวพุทธศตวรรษที่ 20 – 21

อ่านเพิ่มเติม

วัดหัวหนอง

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ชื่อของวัดหัวหนองเป็นชื่อที่ชาวบ้านเรียก สันนิษฐานว่าอาจเนื่องมาจากวัดนี้ตั้งอยู่ใกล้กับหนองน้ำ ไม่ปรากฏประวัติการสร้าง แต่จากรูปแบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 20-21

อ่านเพิ่มเติม

วัดกุมกาม

ตั้งอยู่ที่บ้านช้างค้ำ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ หรือภายในเมืองเวียงกุมกามใกล้กับกำแพงเวียงด้านทิศเหนือ มีเรื่องราวบันทึกอยู่ในตำนานชินกาลมาลีปกรณ์ว่า เมื่อ พ.ศ.2060 พระเมืองแก้วได้เสด็จมาสรงน้ำพระมหาพุทธพิมพ์ที่วัดเกาะกุมกาม และอัญเชิญพระพุทธรูปสำริดขึ้นประดิษฐาน ณ วัดกุมกาม

อ่านเพิ่มเติม

วัดธาตุน้อย

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ โบราณสถานสำคัญประกอบด้วย เจดีย์ วิหาร แท่นบูชารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โบราณวัตถุสำคัญได้แก่ พระพุทธรูปสำริดปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา พระพิมพ์ดินเผา (พระสิบสอง) กำหนดอายุได้ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 19 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 20

อ่านเพิ่มเติม

วัดกู่ปู่ซัง, วัดกู่ปู่ซ้ง

ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เดิมในบริเวณโบราณสถานมีต้นไม้ที่ชาวบ้านเรียกว่า ไม้ซ้ง ขึ้นปกคลุมอยู่ จึงเป็นที่มาของชื่อโบราณสถาน คาดว่าน่าจะสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22

อ่านเพิ่มเติม

วัดกู่ขาว

ต.หนองหอย อ.สารภี จ.เชียงใหม่ โบราณสถานประกอบด้วย วิหาร เจดีย์ แท่นบูชา กำแพงแก้ว และซุ้มประตู โบราณวัตถุสำคัญได้แก่ พระพุทธรูปแก้วสีเขียวปางมารวิชัย กำหนดอายุได้ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 และน่าจะมีการบูรณะเรื่อยมาจนกระทั่งถึงพุทธศตวรรษที่ 23

อ่านเพิ่มเติม