ก | ข | ฃ | ค | ฅ | ฆ | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฎ | ฏ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ฤ | ล | ฦ | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ทั้งหมด
ลัญจกร
seal, emblem
หรือลัญฉกร
(1) ตรา (สำหรับประทับ) ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระราชลัญจกร
(2) ตราหรือเครื่องหมายหรือรูปสัญลักษณ์ต่างๆ ซึ่งสร้างขึ้นสำหรับใช้ตีหรือประทับหรือปิดผนึกบนเอกสาร ด้วยประสงค์ให้เ
... อ่านเพิ่มเติมลานสำหรับเดินประทักษิณ คือ เดินเวียนขวาหรือทักษิณาวรรต เพื่อสักการะบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์
อ่านเพิ่มเติม(excised decoration)
ลวดลายบนผิวภาชนะ (หรือวัตถุดินเผาอื่นๆ) ที่เกิดจากการใช้ของมีคมปลายมน ปลายโค้ง หรือปลายตัด ขุดตัดเอาดินบนภาชนะดินเผาออกเป็นร่อง ทำเป็นลวดลายตามต้องการ จะทำในขณะที่ดินยังอ่อนตัวอยู
... อ่านเพิ่มเติม(incising decoration, incised decoration, engraving decoration, engraved decoration)
ลวดลายบนภาชนะดินเผา (หรือวัตถุดินเผาอื่นๆ) ที่เกิดจากการใช้เครื่องมือปลายแหลม เช่น ไม้ กระดูก โลหะ หรือหิน ขูดขีดลง
... อ่านเพิ่มเติม(basket decoration)
ลวดลายบนภาชนะดินเผาที่เกิดจากการใช้เครื่องจักสานเป็นแบบในการขึ้นรูปภาชนะ เมื่อนำไปเผาเครื่องจักสานจะไหม้สลายไป เหลือเฉพาะลายปรากฏบนภาชนะ
อ่านเพิ่มเติม(cord marked decoration)
ลวดลายบนผิวภาชนะที่เกิดจากการใช้เชือกฟั่น หรือเชือกพันไม้ กด กลิ้งลงบนผิวภาชนะขณะที่ดินยังหมาดๆ
อ่านเพิ่มเติม
(comb decoration)
ลวดลายบนภาชนะดินเผา (หรือวัตถุดินเผาอื่นๆ) ที่เกิดจากการใช้หวี หรือของแข็งที่ทำเป็นซี่คล้ายหวีขูดลงบนผิวภาชนะขณะที่ดินยังหมาดๆ ทำให้เกิดลวกลายขนานกัน จัดเป็นเทคนิคการทำลวดลายประเภทขู
... อ่านเพิ่มเติม(impressed decoration, stamped decoration)
ลวดลายบนผิวภาชนะ (หรือวัตถุดินเผาอื่นๆ) ที่เกิดจากการนำวัสดุธรรมชาติ หรือวัตถุที่ตกแต่งเป็นลวดลายต่างๆ มากดประทับลงบนผิวภาชนะ ขณะที่ดินยังหมาดๆ ทำให้เกิดรอยล
... อ่านเพิ่มเติม(applique)
ลวดลายบนภาชนะดินเผาที่เกิดจากการปั้นดินติดเติมลงบนภาชนะให้เกิดลวดลายต่างๆ
อ่านเพิ่มเติม
(lingling-o)
ตุ้มหูเป็นห่วงกลมมีปุ่มยื่นออกมา 2-4 ปุ่ม ทำจากหินตระกูลหยก เปลือกหอย และแก้ว
อ่านเพิ่มเติมลูกปัดแก้วขี้เถ้าพืชที่มีแคลเซี่ยมสูง (v-Na-Ca) มีขี้เถ้าของพืชเป็นส่วนผสมในการผลิตแก้ว มีปริมาณของแคลเซียม 5-10% โซเดียม 10% ขึ้นไป และมีปริมาณโปแตสเซียมและแมกนีเซียม มากกว่า 2% มีการผลิตขึ้นในแถบตะว
... อ่านเพิ่มเติมลูกปัดแก้วขี้เถ้ำพืชที่มีอลูมิน่าสูง (v-Na-Al) มีขี้เถ้าของพืชเป็นส่วนผสมในการผลิตแก้ว มีปริมาณของอลูมิน่า 2-6% แคลเซี่ยม 5-10% แมกนีเซียม 2-5% โซเดียม 10-17% โปแตสเซียม 2-5% ผลิตครั้งแรกในเมืองบาร่า
อ่านเพิ่มเติมลูกปัดแก้วแคลเซียม (m-Na-Ca) เป็นลูกปัดแก้วที่มีปริมาณแคลเซียมสูงตั้งแต่ 5% ขึ้นไป อลูมิน่า 2-3% และโซเดียม 10% ขึ้นไป เริ่มผลิตขึ้นที่ประเทศอินเดีย และประเทศศรีลังกา ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 2
อ่านเพิ่มเติม(Faience)
ลูกปัดแก้วที่มีปริมาณของซิลิกามากกว่า 90% ขึ้นไป เริ่มผลิตขึ้นครั้งแรกในประเทศอียิปต์ เมื่อประมาณ 4,000 ปีมาแล้ว
อ่านเพิ่มเติมลูกปัดแก้วตะกั่ว (Pb) เป็นลูกปัดแก้วที่มีปริมาณของตะกั่ว มากกว่า 20% ขึ้นไป เริ่มผลิตขึ้นที่ประเทศจีน ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 8
อ่านเพิ่มเติมลูกปัดแก้วโปแตสเซียม (K) เป็นลูกปัดแก้วที่มีปริมาณโปแตสเซียม 15% ขึ้นไป เริ่มผลิตขึ้นที่อินเดีย หรือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว
อ่านเพิ่มเติมลูกปัดแก้วอลูมิน่า (m-Na-Al) เป็นลูกปัดแก้วที่มีปริมาณอลูมิน่าสูงตั้งแต่ 5% ขึ้นไป แคลเซียม 2-3% และโซเดียม 10% ขึ้นไป เริ่มผลิตขึ้นที่ประเทศอินเดีย และประเทศศรีลังกา ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 2
อ่านเพิ่มเติม